ข้อความต้นฉบับในหน้า
4.3. หลักฐานธรรมภายในเชิงหลักธรรมทั่วไป
นอกจากความสดใสดังคะในความหมายของธรรมภายในและในหลักการเจริญสมาธิถวายแล้ว หลักฐานจากเอเชียอาณัยที่นำมาศึกษายังมีความสดใสดังคะกับวิชาชธรรมภายในหลักคำสอนและหลักการปฏิบัติทั่วไปในหลายแง่มุมอย่างน่าที่ง ความสดใสดังคะดังกล่าวปรากฏให้เห็นมาแล้วครั้งหนึ่งในหัวข้อ "ภาพรวมการศึกษาและปฏิบัติในพระพุทธศาสนา" (ดู 4.2.3.1) และยังมีอีกหลายแง่มุมที่จะได้นำเสนอเพิ่มเติมในที่นี้
4.3.1. ดวงแก้ว ดวงธรรม ดวงสว่าง
คัมภีร์โยคาวจรกล่าวถึงสิ่งมีลักษณะเป็นดวงแก้วหรือดวงสว่างไว้หลายครั้งหลายแห่ง88 เช่น กล่าวถึงธิมรรดลและอธิมผลทั้งสิ้งหรือไภิในทั้งสิ้ง หรือ ดวงแก้วสีดวงในดอกมะเดื่อ เป็นต้น ในบรรดาเรื่องราวเกี่ยวกับดวงแก้วนั้น มีสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจคือ "เกิดมาหาดวงแก้ว"
4.3.1.1. "เกิดมาหาดวงแก้ว"89
คำว่าเกิดมาเพื่อหาดวงแก้ว เป็นคำที่คุ้นเคยของผู้ปฏิบัติในสมัยโบราณ ทั้งในดินแดนที่ใช้อธิธรรมและในประเทศภูษา ใส่สื่อความหมายว่าการเกิดมาเป็นมนุษย์มีเป้าหมายหลักคือเกิดมาเพื่อหาดวงแก้วที่อยู่ภายในกายตนที่คัมภีร์มั่นเรียกว่า “กายในครร” เพราะแก้วดวงนี้จะสามารถนำพาผู้ปฏิบัติและสรรพสัตว์ให้พาสุกจนถึงพระนิพพานได้
88 ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากงานวิจัย “สมาธิภาวนาในคัมภีร์อธิธรรม” (กิจชัย เอื้อเขมม 2557)
89 นำมาจากงานวิจัย “สมาธิภาวนาในคัมภีร์อธิธรรม” (กิจชัย เอื้อเขมม 2557) และ “สมาธิภาวนาในคัมภีร์โบราณเขมร” (พระป่อเม่า รมณ์ม์โต 2557)
บทที่ 4 เอเชียอาณัย | 431