ข้อความต้นฉบับในหน้า
3.2.2.1 สติปัญญาลัสัตว์๔ สิโตสะ46
คัมภีร์นี้เป็นคาถาสรรเสริญคุณพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประพันธ์โดย
มาตถาคม (ดู 3.1.9) เป็นคาถาที่นิยมมากในหมู่ชาวพุทธในอินเดีย (Hoernle 1916a: 59) และในเอเชียกลาง (Hartmann 2002: 305) มีการแปลเป็นภาษา
เทียบและภาษาจีน และคัดลอกสำเนาภาษาสันสกฤตหลายฉบับ ฉบับที่พบที่
เอเชียกลางจากรังกาอัครทวีปเป็นอักษรที่ใช้ในพื้นที่อินเจียตตอน
เหนือราวพุทธศตวรรษที่ 9-11 บ่งชี้ว่าคัมภีร์นี้น่าจะคัดลอกในภูมิภาคในช่วงเวลานี้ กล่าวคือ พบข้อความที่เกี่ยวกับธรรมภายในคำจากที่ 145-146 ดังนี้
145. ปรารถเมว เม ธรรมปกายาวติ ตูเวา ทุตุกะย
โลกนาย นีรวามุมปารกิจตุ
146. ตถา หิ สตฺส สกมฺย ธรรมภายมศกษะ ตีโลฺโก
คำแปล:
145. ด้วยพระดำรัสว่า “ธรรมภายและรปายของเรา
ก็เพื่อประโยชน์ของผู้อื่นนั่นเอง” พระองค์จึงทรงแสดงพระ
นิพพานแก่วาโลกผู้อื่นยาท (เชื่อยาก)47
12. ดังที่ทรงแสดงพระธรรมภายแก่ผู้นิศราทรโดยสิ้นเชิง
และทรงแบ่งพระรูปายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย (ดังเมล็ดงา) แล้ว
เสด็จปรินิพพาน
___________________________________________________
45 Hoernle (1916a: 59) เขียนเป็น คาถาปญาสติก
46 งานวิจัย “ร่องรอยวิชาชภธรรมภายในตนธารและเอเชียกลาง” (ชนิดา จันทภรริโศล 2557)
47 ข้อความภาษาสันสกฤตในฉบับที่พบที่เอเชียกลางนี้มีเนื้อหาแตกต่างจากฉบับตรวจชำระโดย Bailey (1951) เล็กน้อย ข้อความตรงนี้ในฉบับของ Bailey จะต้องแปลว่า แม้ทรงอยู่ในพระนิพพานแล้ว ก็ยังทรงสอนชาวโลกผู้อื่นยาก