ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
- ในเวลาสร้างบุญกุศล ก็อธิบายจิตว่า “ขอเดชแห่งบุญนี้” ขอให้ข้าพเจ้าได้กลับไปเกิดในดงแก้วที่ขามนนด้วยเถิด
- หากประมาทพลาดพลัง ไปคิด พูด หรือทำในทางทุจริตเข้า “ดงจิตที่กลับกลาย” ก็จะพามนุษย์ไปเกิดใน “ดงสโครก” คือ อบายหรือทุ คติ เทพบนี้จะพากลับไปเกิดใน “ดงแก้วที่ขามา” ตามที่ตั้งความปราถนาไว้
โดยฉนี้ คุณสมบัติของ “ดงแก้วที่ขามา” ดังกล่าวจึงเป็นคุณลักษณะของนิพพาน ซึ่งนอกจากจะเป็นสุขและยั่งยืนแล้ว ยังเป็นสภาวะที่จะสะอาดบริสุทธิ์และเป็นเป้าหมายของทุกชีวิต ส่วนการที่จะกลับไปสู่ภาวะที่สะอาดบริสุทธิ์ดังเดิมได้งั้น ดวงจิตต้อง “ไม่กลับกลาย” คือต้องอยู่ในสภาวะของจิตดังเดิมที่สะอาดบริสุทธิ์ เพราะดวงจิตที่จะกลับไปสู่วุคติ
หลักการที่มุนษย์ยึดนึกดั่งเดิมที่สะอาดบริสุทธิ์นี้ มีแสดงไว้ในพระไตรปิฎกบาลีด้วยเช่นกันว่า จิตเป็นของผ่องใส แต่มเศร้าหมองไปภายหลังเพราะอุปกิเลสที่รวม และจิตสามารถหลุดพ้นจากอุปกิเลสนี้ได้อธิสาวกได้สติบดดังนี้แล้ว จึงเจริญสมาธิภาวนา (อย.เอก. 20/50-3/11-2) การที่บอกว่า “อุปกิเลสที่รวม” นั้น บ่งบอกถึงแหล่งที่มาของกิเลส ว่ามาจากที่อื่น ไม่ได้เป็นธรรมชาติเดิมของจิต และเมื่อมาแล้วก็มาเป็นปัญหา ทำให้จิตที่เคยสะอาดผ่องใสหันเศร้าหมองไป ซึ่งก็คือ “จิตที่กลายกลาย” ที่จะพาไปสู่อบายนันเอง ส่วนการที่บอกว่า จิตหลุดพ้นจากอุปกิเลสที่รวมได้มันบ่งบอกถึงสภาวภาพในการตรัสรู้และเข้าสภาวนพาน โดยการกลิ่นจิตให้กลับมาอยู่ในสภาวะดังเดิมที่สะอาดบริสุทธิ์อีกครั้ง ศัยภาพของมนุษย์ในการตรัสรู้เพื่อกลับไปสู่สภาวะที่สะอาดบริสุทธิ์