ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมกายที่ตรงกันกับกันในวิชาชรรธรรมกายอย่างเต็มร้อยจะพบอยู่ในคำภีร์ของนิทายหลักและคัมภีร์ที่มีอายุเก่าแก่ได้แก่ คัมภีร์อคมของจีน คัมภีร์พุทธมหายานยุคต้น และยุคกลางบางคัมภีร์ ส่วนคัมภีร์มหายานที่มีการขยายความเชิงปรัชญาไปมากแล้ว พบว่ามีความสดใสเพียงในหลักการเบื้องต้น แต่เมื่อรายละเอียดแล้วพบว่าแตกต่างกัน ตัวอย่างประเด็นเกี่ยวกับธรรมกายที่สดใกล้กับวิชาชรรธรรมกายมีดังนี้
- พึงเห็นพระพุทธองค์โดยธรรม เพราะพระองค์ทรงมีธรรมเป็นนาย (พระตถาคตเป็นธรรมกาย)
- พระพุทธองค์ทรงประกอบด้วยทั้งรูปลายและธรรมกาย
- มนุษย์และสรรพสัตว์มีภาวะแห่งความเป็นพุทธะอยู่ภายใน
- ธรรมกายเป็นกายแห่งการตรัสรู้ธรรม
- อธิษฐานสาวเป็นผู้ครองด้วยธรรมกาย
- กิเลสของพระพุทธองค์สิ้นแล้วคงเหลือแต่ธรรมกายเท่านั้นดำรงอยู่
สำหรับคัมภีร์ที่สอนการเจริญภาวนา ที่น่ามาศึกษาในบทนี้มีจำนวน 10 คัมภีร์ เป็นคัมภีร์ที่สอนอนุบาล 2 คัมภีร์ และคัมภีร์ที่สอนพุทธาคม 8 คัมภีร์ มีทั้งที่เป็นต้นฉบับลายมือเขียนบงกชตาร์ และภาษาอัสกภู และที่แปลมาเป็นภาษาจีน พบว่าคัมภีร์ที่สอนอนุบาลเป็นคัมภีร์ของนิกายหลักคือสวรรคตาวา มีเนื้อหาแนะนำให้งวางใจที่ศูนย์กลางกาย ส่วนคัมภีร์สอนเกี่ยวกับพุทธาคม มีผลการปฏิบัติธรรมแบบเห็นพระ และมีทั้งที่ให้บ่งชวาให้ความสำคัญกับศูนย์กลางกาย กับที่ไม่ได้แสดงฐานที่ตั้งของใจไว้ให้ชัดเจน แต่มีหลักการปฏิบัติในกาวใจนเดียวกันกับที่สอนในการปฏิบัติธรรมเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
บทที่ 3 คันธาระ เอเชียกลาง และประเทศจีน | 301