ข้อความต้นฉบับในหน้า
คัมภีร์เชมรแนะนำคล้ายกัน โดยให้ผู้ปฏิบัติเพื่อพานสักการะที่เรียกว่า “พานอุปจาร” เพื่อใช้ในการอาราธนาธรรม จุดรูปเทียนที่แทนบุชาคูร แล้วจากนั้นจึงจุดรูปเทียนที่พานอุปจารของตนเอง (คัมภีร์เชมร)
3. จากนั้นให้ท่าที่ส่งเพื่อเริ่มการนั่งปฏิบัติ ซึ่งคัมภีร์ได้รับนํ้าที่เหมาะสมสำหรับชายหญิงและนักบวชไว้ด้วย (มูลล. 5.5-5.10)
4. ให้ตั้งสติตรงต่อกรรมฐาน พนมมือ ตั้งสติพิจารณาถึงทุกในวัฏสงสาร (มูลล. 5.10-6.9) พิจารณามหาสังเวชอัตตา (มูลล. 6.10-7.4) และเทวดากับมฐาน (มูลล. 7.4-9.6)
5. บูชาพระรัตนตรัย (มูลล. 9.7-10.2) และสรรเสริญพระพุทธคุณที่อยู่เหนือหมูมารทั้งหลาย (มูลล. 10.2-11.2)
6. จากนั้นคัมภีร์ได้เปรียบเทียบอุปมาผูกล่าวเพื่อให้ฟังการฝึกสอน เช่นเดียวกับจิตใจของบุคคลที่ต้องผูกให้มันไม่ให้ “จร” ไปที่ใด (มูลล. 11.3-11.9) ต่อด้วยการอธิบายฐานโดยใช้บทลิ่วพร้อมคำแปล ขอพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ กรรมฐาน และอาจารย์ผู้สอนกรรมฐานให้ได้เป็นที่พึ่ง (มูลล. 11.10-12.10) ตามด้วยบทบาลีอธิบายขอให้ได้สำเร็จใน “พุทธมรรค” ประการใดประการหนึ่งได้แก่ พุทธานุสติ เป็นต้น (มูลล. 12.10-13.5)
4.2.3.3. การเจริญสมาธิภาวนาเบื้องต้น68 คัมภีร์ของโยคาวรที่ศึกษาในงานวิจัยนี้ ที่กล่าวถึงการปฏิบัติสมาธิ