ข้อความต้นฉบับในหน้า
ส่วนในยุคราชวงศ์ศักยมานะ ราวพุทธศตวรรษที่ 6-8 พระพุทธศาสนาได้ปักหลักมั่นคงทั่วดินแดนเอเชียกลาง เมืองสำคัญที่ตั้งอยู่บนเส้นทางสายไหม เช่น บามิยัน คูบู คูซา โถทาน โผลาหาราน เทอรฟาน และตุหนหวง ล้วนเป็นศูนย์กลางที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา และยังคงเป็นเช่นนั้นต่อมาอีกหลายร้อยปี (Ebrey 2006: 67)
รวบ พ.ศ. 568-763 ในสมัยตงซ่าน (Eastern Han Dynasty) พระพุทธศาสนาเดินทางจากเอเชียกลางสู่ประเทศจีนโดยการอุปถัมภ์ของจักรพรรดิข่ายหนาน (Kushan Empire) ซึ่งมีบทบาทในการคุ้มเส้นทางการค้าจากแคเมอริอัฟกานิสถาน แนวเขตแดนตะวันออกของอิร่าน บริเวณโอเอชของซูเขาอามดาร์ยา จนถึงดินแดนตะวันตกของอบเขาทรม มหานครลั่วหยางในยุคนั้นมีชาวต่างชาติเข้ามาอาศัยอยู่จำนวนมาก เพราะเป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในฐานะศูนย์กลางทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ นักเผยแพร่พระพุทธศาสนาในยุคนั้นได้รับการสนับสนุนจากนักธุรกิจต่างชาติเดินทางเข้ามาขายทำธุรกิจในราชสำนักจีน ส่งผลให้มหานครลั่วหยางเป็นแหล่งชุมชนของนักธุรกิจชาวพุทธต่างชาติ และกลายเป็นศูนย์กลางการแปลพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาไปโดยเปรียบ (Gernet 1996: 213)
2.6.3. ตำนานแห่งยุคทอง
ในช่วงแรก ประชาชนชาวฮั่นจะมองพระพุทธเจ้าในฐานะเป็นเทพเจ้าต่างชาติ (Hung 1986: 264) มีกำเนิดแห่งนับขบพระพุทธรูปเอาไว้คู่กับรูปเคารพของหวางตี้ (皇帝) และหลาวเจี๋ย (老子) ภายในพระราชวัง (Kohn and LaFargue 1998: 78) นอกจากนี้ ยังมีตำนานอันโด่งดังเกี่ยวกับพระสูนิในมิตร