ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ในพระไตรปิฎกว่ามีข้อคาวที่กล่าวถึงความเป็นของสูงส่ง ละเอียดประณีตของ "แก้วคือธรรม" (ธรรมรัตนะ) ได้แก่พานและสมอิันเป็นเครื่องนำเข้าสู่พาน ซึ่งสื่อความหมายในทำนองเดียวกัน
พระสายมาณนี้พระทัณฑ์นั้นมั่น ทรงบรรลุธรรมได้อันเป็นที่สิ้นกิเลส เป็นที่สำรอกิเลส เป็นอเป็นธรรมอันประดิษฐ์ สิ่งอื่นจะเสมอด้วยธรรมนัน้อยนมิ ธรรมรัตนะนี้โรจนะอันประดิษฐ์ ด้วยสัญจะจากนี้ ขอความสุขดังมี
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญสมาธิว่าเป็นธรรมอันสะอาด เหล่าบันฑิตกล่าวถึงสมาธิว่าให้ผลในลำดับสิ่งอื่นจะเสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี แม้ธรรมรัตนะนี้ก็เป็นธนะ อันประดิษฐ์ ด้วยสัญจะจากนี้ ขอความสุขดังมี (ขุ.ขุ.25/7/5-6)
คติธรรมว่า “เกิดมาแก้ว” ของโยคาวจร จึงนับเป็นสิ่งที่ตรงกันกับหลักการของวิชชาธรรมกาย เป็นความเข้าใจเก่าแก่ที่มีมาแต่ดั้งเดิมดั้งเดิมมีร่องรอยปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกุล
นอกจากคติธรรมในการเกิดมาแก้วคือโลกุตตรธรรมแล้ว โยคาวจรยังมีอีกสิ่งหนึ่งเกี่ยวกับดวงแก้วที่พบมากคือ “ดวงแก้วที่ขามา”
4.3.1.2. “ดวงแก้วที่ขามา”93
ในคัมภีร์อรรถธรรมมีหลายตอนที่กล่าวถึงเป้าหมายหรือความพยายาม
(หมายเหตุ: ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากงานวิจัย “สมาธิภาวนาในคัมภีร์อรรถธรรม” (กิจก์ เอื้อเกษม 2557))