ข้อความต้นฉบับในหน้า
3.3.2.1. ปรัชญาตับนสมาธิสุตร94
ในจำนวนคัมภีร์ที่พบในเอเชียกลางและเก็บรักษาไว้ในอร์เนธคอลเล็คชั่น (Hoernle Collection) นั้น พบคัมภีร์หนึ่ง (Hoernle Ms 143, SA3) มีเนื้อหากล่าวถึงสมาธิอย่างหนึ่งที่เมื่อปฏิบัติวัดแล้วจะเป็นเหตุให้ได้รับการปลุกจามจากมนุษย์และอมฤษย์ ดิงดูดเสี้งดีงามเข้าสำเข้าที่มddlงหลาย และทำให้ผู้ปฏิบัติมีญาณสะที่กว้างไกล รู้แจ้งสัจธรรมที่เหนือคำบรรยาย และเข้าถึงธรรมชาติอันสูงสุดของสรรพสิ่ง ที่เรียกว่า ตตกวา หรือ ตตกตา ซึ่งหมายถึงธรรมกาย (Thomas 1916b)
จดหมายของรัฐบาลอินเดีย ระบุว่า คัมภีร์ที่ทะเลทรายทาลามากมา กันใกล้โลตาน ซึ่งโรมส์ (Thomas) คาดว่าจะเป็นที่ค่าหาดลิศ ในบริเวณโดโมโกโอเอชี (Domoko Oasis) เขียนด้วยอักษรปุระตัวตรงของอินเดียว95 ในภาษาสันสกฤตแบบผสม
เนื้อหาในคัมภีร์ที่พบคงเหลือเพียงข้อความที่กล่าวถึง "สมาธิ" และอานิสงส์บางส่วน แต่ไม่มีอะไรที่ระบุว่า "สมาธิ" คืออะไร เมื่อศึกษาจากแคตตาล็อกเปรียบเทียบพระสูตรของ Nanjio (1883: 30-1) และเทียบเนื้อหากับต้นฉบับเต็มของปริตุตปันสมาธิสุตร ฉบับแปลภาษาอังกฤษจากต้นฉบับภาษาจีน (Harrison 1998) และทิเบด (Harrison 1990) แล้ว พบว่าเนื้อหาของชิ้นส่วนคัมภีร์ที่พบที่เอเชียกลางนี้ เป็นเนื้อหาบางส่วน96 ของพระสูตรที่ชื่อ