ข้อความต้นฉบับในหน้า
เป็นเรื่องธรรมดาของคำภีร์ส่วนใหญ่ อย่างไรก็ดี คำตอบในพระไตรปิฎกนี้ชี้ชัดว่า พระพุทธองค์ทรงสอนให้ “วางใจไว้ภายในตัว” และในการีอธิบายสภาวะของจิตที่เป็นสมาธิในแบบที่พระองค์ทรงสอน ก็แสดงไว้เสมอว่า จิตนั้นอยู่ภายใน มีได้อยู่นอกแต่โดยไกล
ภิกษุทั้งหลาย คำใดที่ภิกษุข่มจิตไว้ดีแล้วในผัสสะตนะ
6 คำบั้น จิตย่อมดำรงอยู่ ย่อมตั้งมั่น สงนงในภายใน มีธรรม
เอกผุดขึ้น จะนั่นแล (ส.สพ. 18/344/244)
ภิกษุถ้าแม้หวังว่าจะบรรลสัญญุตสมาบัติภายในเธอ
พึงดำรงจิตภายใน ให้จิตภายในสงบ ทำจิตภายในให้เป็นธรรม
เอกผุดขึ้นตั้งจิตภายในให้มันเกิด ๆ (ม.อ. 14/346/236)
ภิกษุบรรลุทิวาณมิความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็น
ธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวัตถุ วิจารสงไป ไม่มีวิตก ไม่มีจาร มี
ปีติและสุข เกิดแต่สมาธิ (ท.ส. 9/127/98)
แม้พระพุทธองค์เองก็ทรงดำรงจิตไว้ภายในตัว และภายในสมาธิดิมดเวล
อัคคีวสนัน เรารู็เฉพาะว่า เป็นผู้แสดงธรรมแก่บริษัท
หลายร้อย ถึงแม้มุขบุคคลคนหนึ่ง ๆ เข้าใจว่า พระสมณโดดเด่นง
ธรรมปรารถนาเท่านั้น ท่านอย่าพึงเห็นอย่างนั้น พระตถาคต
ย่อมแสดงธรรมแก่บุคคลเหล่านั้นโดยชอบ เพื่อประโยชน์ให้รู้รุ่ง
แจ้งอย่างเดียว เราประคองจิตสงบตั้งมั่น ทำให้เป็นสมาธิ ณ
บทที่ 4 เอเชียกนธ์ | 369