ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์ทุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
เรื่องราวของการเกิดมาเพื่อหามดวงแก้วหรือในบางแห่งกล่าวว่า เกิดมา หาดวงแก้วในดอกมะเดื่อหรือผลมะเดื่อ ปรากฏอยู่ในคัมภีร์โบราณหลายคัมภีร์ โดยนิยมผูกเป็นเรื่องราวของ "จิตตกุมาร" ซึ่งเป็นตัวแทนดวงจิตของมนุษย์ ผู้จะมาเกิด และเปรียบเทียบมนุษย์ที่ประกอบด้วยรงค์ทั้งห้าคือ ศรีษะ แขน ขา ว่าเป็นต้นมะเดื่อหิว เทียบอิทธิผลทั้งสิ้นเป็นดวงแก้วทั้งสิ้นดอกมะเดื่อ มีนอกอินทรี 4 ตัว (ในคัมภีร์อักษรธรรม) หรือ 6 ตัว (ในฉบับเขมร) คอยเฝ้าและกินคนทั้งเป็น ซึ่งเปรียบได้กับอายตนะ 4 หรือ 6 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น (ฉบับเขมรเพิ่มเติม กายและ ใจ) ที่คอยชักพาให้มนุษย์หลงไปในวัฐสสงสาร เป้าหมายของการมาเกิดในโลกลมนุษย์คือเพื่อหา “ดวงแก้วทั้งสีในดอกมะเดื่อ” อันได้แก่ อิริยผลทั้งสิ้นภายใน โดยการผ่านกิินทรี และนำดวงแก้วส่องเข้าไปพ้นกันในเมืองนิพพาน เป็นต้น (บ realize 1.43.1-1.45.4) นับเป็นอุปมาอุปไมยที่แสดงให้เห็นจุดมุ่งหมายและหลักการปฏิบัติในพระพุทธศาสนาได้อย่างชัดเจน คัมภีร์ว่าจะพรรณนาว่าเป็นประเด็นนี้ไว้หลายแห่ง (บ realize 1.43.1, 2.18.1) และพบในคัมภีร์โลบทานเขมรหลายฉบับ91 ดังตัวอย่างต่อไปนี้
"โยคาวจรทั้งหลาย หากอยากจะยกตนให้พ้นจากทุกข์ภัยในวัฏสงสาร ให้ค้นหาธรรมที่เรียกว่า “มูลกัมมฐาน” เพราะตอนมาเกิดเป็นมนุษย์ได้ตั้งใจว่าจะหาดวงแก้ว...หากพบดวงแก้ว"