ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
พระวีรชัยได้ศึกษาเปรียบเทียบข้อความในคัมภีร์สั้นสกุลถอดจากกิสิฏฏิ
นี้กับฉบับตรวจชำระของไวดัย (Vaidya 1961a: 87) ซึ่งนำเนื้อความมาจาก
ต้นฉบับคัมภีร์ในลำดับรุ่นหลัง35 และฉบับแปลในภาษาทิเบต พบว่า มีเนื้อ
ความตรงกันเกือบทุกคำ แตกต่างกันเพียงเล็กน้อยในการเติมคำว่า “และ”
ในการเชื่อมประโยค สลับตำแหน่งคำกันบ้าง และในฉบับของไวดัยจะใช้
คำว่า “พระนัน” (นายก) เป็นพุทธพจน์ แทนคำว่า พระตถาคตเจ้าเพียง
พระองค์เดียวดังพิสูจน์ในต้นฉบับคัมภีร์จากกิสิฏฏิ ส่วนใจความอื่นๆ ของคาถา
นั้นตรงกันทั้งหมด ฉบับแปลในภาษาทิเบตมีข้อคิดเห็นของไวดัยของไวดัย
แบบคำต่อคำ36
ส่วนในฉบับภาษาญี่ปุ่นท่านโบราณ พบข้อความที่มีข้อคิดเห็นนี้ด้วยเช่นเดียวกัน
ดังนี้
cu muhu ruvane deda
cu ma salāyau-jsa māñare
kūra cedāmma ttyäṃ
tta muhu herstāya na deda
dharmahe-jsa băysā dyāṃā
dātiđāvyne taramādrā ttyäṃna
35 ฉบับของไวดัย ได้มาจากต้นฉบับคัมภีร์ในลำดับรุ่นรวมโดยสถาบันมิลิก (Mithila Institute) ใน
Darbanga ประกอบด้วยฉบับในลำดับรวบรวมและเก็บไว้ที่สถาบันนี้ทั้งที่มาจากอินเดียและ
เบปาล ที่แหล่งที่สุดมีอายการคัดลอกจากกลางพุทธศตวรรษที่ 14-15
36 ศึกษารายละเอียดในการเปรียบเทียบคัมภีร์รัชญาเชิงปรัชญาปรมิตา ที่พบที่คล้ายคลึงกันบับภาษาขั้นต้นของคัมภีร์สั้นสกุลของไทยและในบำภาษาทิเบตได้จากรายงานการวิจัยของพระวีรชัย (พระวีรชัย เตชุโกโร 2557)