ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
บทประมวลความนี้ ชี้ชัดว่า พุทธคุณทั้งหลายที่เปรียบเสมือนอวัยวะต่างๆ แห่งพระรากายนี้ ประมวลรวมกันแล้วทำให้พระพุทธองค์ได้ชื่อว่าเป็นธรรมกาย คือ “ผู้มีธรรมเป็นกาย” กายแห่งธรรมมิ่งหรือธรรมกายอันเป็นที่ประชุมรวมของคุณธรรมและคุณวิสัยนี้เองที่ทำให้พระพุทธองค์รั้งร่องเนินเทวาและมนุษย์ทั้งหลาย และจึงเป็นพุทธลักษณะที่พระโโยวจร ผู้ปรารถนาจะเป็นพระสัมมาตัมพุทธเจ้าพึงติสรทิสรถึงเนื่องฯ10
คำแนะนำให้ผู้ที่ปรารถนาจะเป็นพระสัมมาตัมพุทธเจ้ารู้ถึงธรรมภายในด้วยความก็ือการแนะนำให้พระโพธิสัตว์เจริญพุทธาญาสติ ระลึกถึงพระพุทธคุณอยู่เสมอเน้นเอง จึงเป็นหลักการเดียวกันกับหลักฐานที่พบในคันธธาระ เอเชียกลางและประเทศจีน ที่แนะนำให้พระโพธิสัตว์เจริญพุทธาญาณสติ (ดู 3.3.2) อันนับเป็นการบ่มบารมีให้แก่รอเพื่อการเป็นพระสัมมาตัมพุทธเจ้าในอนาคต จึงเป็นสิ่งที่น่า ศึกษาต่อไปว่า คาถาธรรมภายในมีความเป็นมาอย่างไร และมีความสัมพันธ์อย่างไรในเชิงประวัติศาสตร์ กับคัมภีร์พุทธานุสติในภูมิภาคอื่นๆ ของโลก
10 เนื้อหาในบทประมวลความนี้ไม่ปรากฏในคัมภีร์พุทธโบราณ(อรรถกถาอังคุตตรนิกาย) หรือในอรรถกถาและกฎใดๆ ของอุปัชฌาย์ฐานะว่ามีเป็นไปในโลกทางว่า การประมวลภาพรวมออกมาย่าง ชัดเจนว่าพระพุทธคุณเหล่านี้ร่วมเรียกว่าธรรมกายและเป็นพุทธลักษณะฯที่ควรแก่การระลึกถึงนั้น อาจเกิดขึ้นในภายหลังขององค์พระอรหันต์ หรืออาจเกิดขึ้นตามดวงจันทร์ในดวงของชาวพุทธ เราถึงขึ้นในปษา | ไทยหรือมิรา และเป็นที่รู้จักกันวงกว้างจนเป็นเหตุให้เนื้อหาบางส่วน คือ เฉพาะข้อความแจกแจงพุทธคุณอันไปเติมเข้าไปในอรรถกถาอีกที การสืบค้นเพิ่มเติมอาจให้คำตอบ ที่ชัดเจนได้ซึ่งอาจจะทำความสำคัญในเชิงประวัติศาสตร์การเผยแพร่พระพุทธศาสนาโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับ เรื่องราวของธรรมกาย