ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ทั้งนี้ถือความเป็นมาของคาถาธรรมยาว่า การเปรียบเทียบพระพุทธคุณกับส่วนต่างๆ ของพระธรรมภายในลักษณะนี้อาจเป็นคำสอนเก่าของพระพุทธศาสนาดั้งเดิมบางนิกายที่ยึดการตั้งความปรารถนาเป็นพระสัญลักษณ์พระเจ้าและเป็นต้นสายของพุทธมหายาน ที่เคยเผยแม่มาถึงเอเชียอเนย์หรืออย่างน้อยประเทศไทยแต่ครั้งโบราณ (ดู 2.3.1) ซึ่งเป็นคนละสายการเผยแผ่กับพระพุทธศาสนาเถรวาทจากศรีลังกา ส่วนข้อความที่แสดงเป้าหมายถึงมรรคผลนิพพานที่ปรากฏในท้ายคัมภีร์นั้นเป็นการเติมเข้าไปตามคตินิยมของชาวพุทธเถรวาทท้องถิ่นในภายหลัง
ส่วนการที่ข้อความส่วนแจกแจงพระพุทธคุณผนวกไว้ในอรรคถตวรรณนิยายฉบับอักษรไทยและพม่า โดยไม่ปรากฏในฉบับอักษรสิงหลนั้นจะเป็นการสนับสนุนข้อสันนิษฐานว่า คาถาธรรมยาวนี้จุดเริ่มต้นมาจากพระพุทธศาสนาต่างสายการเผยแผ่กับเถรวาทแบบศรีลังกา ส่วนการที่มีเฉพาะข้อความแจกแจงพระพุทธคุณ โดยไม่มีบทประมวลความของคาถาพระธรรมกายผนวกไว้ในอรรคถถาดังนั้นยอมรับเนื้อหาของบทแจกแจงพระพุทธคุณว่า แต่ไม่ยอมรับเนื้อหาของบทประมวลความที่อาจจะดูผิดแผกกับคตินิยมของเถรวาทแบบที่นี้อื่อกันอยู่ การสืบค้นต่อไปในเชิงประวัติศาสตร์อาจช่วยให้ได้คำตอบถึงความเป็นของคาถาธรรมภายในที่ชัดเจนขึ้น
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่น่าที่ทราบแน่นอนจากข้อมูลที่มีในขณะนี้คือ คาถาธรรมภายเคยเป็นที่นิยมแพร่หลายในประเทศไทย ดังจะเห็นได้จากการพบคาถาธรรมภายในต่างพื้นที่ ต่างยุคสมัย และจารึกด้วยอักษรหลายแบบในท้องถิ่นต่างๆ ของไทย และยังพบคัมภีร์พระธรรมภายใน ฉบับพุมพูม ใน