ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ในคัมภีร์ใบลาน ไม่มีการกล่าวถึงฐานที่ 2-3 ที่กล่าวไว้ในวิชชาธรรมกาย ได้แก ฐานที่เพลากตา และในกลางกัทศิริยะ ส่วนฐานที่ 7 ของวิชชาธรรมกาย นั่นเป็นไปได้วางอาจตรงกันกับฐานที่ 4 ในคัมภีร์ใบลานแขมที่หมายถึงที่สุด ของลมหายใจ ส่วน “ฐานที่ตั้งถาวร” ของใจในล่าสุดท้าย ในขณะทิวชาธรรมกายแนะนำให้วงใจไว้ที่ศูนย์กลางฐานที่ 7 ในระดับสูงขึ้นมากว่า ระดับสะดือราว 2 นิ้วมือ การนั่งหาดวงแก้วหรืออักษะพระ “อะ-ระ-หัง” ของคัมภีร์ใบลานเขมรยึดอาศัยในระดับสะดีเป็นฐาน ซึ่งนั้นได้ ว่ามีความคล้ายคลึงกันในแง่ของการวางใจไว้ในรวดกลางลำตัว
การให้ความสำคัญกับระดับสะดุดเหมือนจะเป็นลักษณะเด่นอย่างหนึ่ง ของโยคาวจร ดังจะเห็นได้ในคัมภีร์อรัญธรรมที่ให้ความสำคัญกับ “นาถี” เช่นเดียวกัน (ดู “ทางเดินของจิตและกระบวนการบรรลุอรัญธรรม” ข้างล่าง”)
ทั้ง 5 ฐานของคัมภีร์ใบลานเขมรนี้ บางครั้งท่านสอนในเชิงสัญลักษณ์ โดยเปรียบเทียบกับตัวอักษรย่อ 5 ตัวคือ น-โม-พุทธ-รา-ยะ ตั้งแต่ฐานที่ 1 ถึง ฐานที่ 5 ตามลำดับ การสอนเชิงสัญลักษณ์นี้แต่ละอาจารย์อาจสอนแตกต่างกันไป เช่น หนังสือการสอนพระกัมม์ฐานแบบโบราณของ วัดนิจสุวรรณ ระบุว่า น-โม-พุทธ-รา-ยะ เป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในนรกนี้ ที่ปรารถนาอยู่ภายในกายนเราตรง ณ ฐานทั้ง 5 นอกจากนี้ยังบอกว่า น-โม-พุทธ-รา-ยะ เป็นคำถวายบูชาพระและเป็นสัญลักษณ์แทนปิติถึง 5 องค์ด้วย เช่น อาจารย์บางท่านเวลาสอนพระกรรมฐานจงบอกลูกศิษย์ในเชิงปรีชานธรรมว่า วันนี้ไปหาตัว “น” ภายในตัวให้เจอ ตัว “น” ที่อาจารย์ท่านว่ามันหมายถึงให้ไปหาพระพุทธทุกปีกัย อันเป็นปิฏิปะการแรกในชันปี 5 องค์นี้เอง ส่วนใน