ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโอวาท 1 ฉบับวิชาการ
หย่อยกว่ากันของสัตว์ทั้งปวง เป็นฤทธิ์ที่จะยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับผู้ที่จะทรงส่งสอน
นอกจากนี้ คาถาธรรมกายยังกล่าวถึงฤทธิ์เป็นเครื่องรู้แจ้งอีกหลายประกว่าว่าเป็นองค์ประกอบของพระธรรมกายด้วย เช่น
- จุดสังญาณ หรือฤทธิ์ที่รู้เห็นในอริยสัจ 4 คือทุกข์ สมุทัย นิรโร มรรค เป็นพระวิชฌา
- สีลลักษณ์ หรือฤทธิ์แจ้งใน ทุกข์ อนิจจิ อนันตวา เป็นปล้องพระคอ
- ปฏิจจสมุปบาทฤทธิ์หรือฤทธิ์ที่รู้แจ้งการเกิดขึ้นของธรรมทั้งหลาย เพราะอาศัยกัน เป็นพระนาฏี
รวมทั้งพระสัพพัญญูฤทธิ์ที่รู้แจ้งในสรรพลิง
โดยภาพรวม ธรรมกายที่กล่าวถึงในคัมภีร์พระธรรมกายนี้ประกอบด้วยทั้ง จักษุ และฤทธิ์ เป็นทั้งความเห็น และความรู้แจ้งในเวลาเดียวกัน
ในอรรถกถาบาลีมีกล่าวไว้ว่าหลายแห่งว่าธรรมกายประกอบด้วยฤทธิ์ต่างๆ ซึ่งส่วนเป็นการกล่าวเพียงแค่เป็นตัวอย่างโดยไม่ได้แจงรายละเอียดเช่น อรรถกถาพยสุตร (อ.อ. 90) อรรถกถาชุมาลาวิมาน (วิมานอ. 246) และอรรถกถาโลภสูตร (อิตอ. 13) ระบุว่าธรรมกายประกอบด้วยทศพลญาณ เวสารัชญาณ อาสภารญาณ และอาเวนิกุพทธะธรรม20 เป็นต้น
20 บางครั้งเรียกว่า อาเวนิกุพุทธธรรม หมายถึงคุณธรรมที่เป็นอาสภาระมีเฉพาะในพระสัมพุทธเจ้าเท่านั้น มีทั้งหมด 18 ประการ มีจุดเริ่มต้นจากนิพัทธ์สวาสติวา