ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมมากในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
4.3.2.3. ภาวะสงบนี้ในครรภ์มารดากับผู้เจริญวาณา116 คัมภีร์โยคาวรรณนยยสมภาวะการหายใจของเด็กในครรภ์มารดามาเป็นอุทรนสำหรับผู้ปฏิบธรรม โดยกล่าวว่านเด็กมีความทุกข์เมื่ออยู่ในครรภ์ และมีเพียงกระแสสมาหายใจที่จำกัดไว้จากสะดือถึงคอเท่านั้น กระแสสมาหายใจชนิดนี้เรียกว่า “ปลาสวาด”117 ไม่มีระแสสมาพ้อนออกจากจมูก แต่ในกรณีของบรมโพธิสัตว์ผู้จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงจะอยู่ในครรภ์มารดาอย่างมีความสุข นั่งขัดสมาธิพร้อมกับภาวนา “นิสสวาด”118 คือการไม่มีระแสสมาหายใจให้โยคาจารย์เจ้าทั้งหลายพึงดูด เมื่ออยู่ในท้องแม่ให้คิดถึงความตายว่า เมื่อจุตตายจากใจและดังสะอาด คือสะอาดและหายใจออกจากจมูกมิได้แล้ว ต้องเอายังสุขายครพลาวดี ใจ สวตมรรสี่นสวตผละนั้นแล (บรรท. 2.37.4)
เมื่อเราทั้งหลายอยู่ในท้องแม่ หายใจอยู่แต่ในท้องขึ้นลงแต่สะดืออันลิ้นลัง ออกนอกดังนั้นหาปได้แล (ญาณก. ฉบับวัดช่องสิงห์ 6.1)
กุมเอาพระธรรมาสูญญาสูญมาแต่ถึงกระหม่อมเทือนึงกุมไว้มั่นชื่อว่าถึงรหันต์ เข้านิโรธได้บูประตูสวรรค์
116 นำมาจากงานวิจัย “สมาธิวรรณในคัมภีร์อังคธรรม” (กิชชา อื้อเกษม 2557)
117 ปลาสวาด: ปะสาร+วาด สมภายใน
118 นิสสวาด: นิ+สาร+วาด ไม่มีระแสสม
ดั่ง น. จุมูก
สู้: ยินดี. พอใจ, รับได้
460 | ดร.ชนิดา จันทารศรีโสฬ