ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลันกันไปซึ่งแสดงถึงความต่อเนื่องไมขาดระยะของการเผยแผ่¿ธรรมปฏิบัติในรูแบบนี้ในภูมิภาคอัน ังส่วนใหญจะเป็นพระสุตมาตายาน แต่มมีคมมุธีรปฏิบัติธรรมหยิ่งเชื่อว่ามของสรรคะสิวาตหรือมของสรรคะสิวาตด้วยอนาปานสดิวากนำน่าจะเป็นทีนิยมเอนกันและเชื่อว่าการเจริญสมาธิวามิฑานาแบบแรกที่ชาวพุทธในประเทศไทยจนรู้จัก โดยพระอัฐิอากาว พระวิกษุชาวพรรคเรียนผู้อบบในนิกายสรรคะสิวาตเป็นผู้นำมาเผยแผ่ในราชน วีพ.ศ. 698-712 ก่อนหน้าที่พระโลกษามอํานพุทธศาสตร์จากพระสุตมาตายานเข้าไป (พ.ศ. 707-729) เพียงไม่กีบ
การปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสองแบบนี้ที่เผยแผ่เข้าไปในประเทศจีน น่าจะมีอิทธิพลต่อการปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติธรรมของศาสนาท้องถิ่นในประเทศจีนไม่น้อย กล่าวคือ ภายหลังจากที่พระอันเชิญกวาดสอนอานาปนสมถีเกียรติศิษฐีย์ของจีนเริ่มสอนให้หวังใจในการเจริญภาวนาโดยให้หยาบในฐานจุดต้นเขื่อนซึ่งอยู่ใกล้ลำดักบริเวณสะดือ ต่ำกว่าสะเดิราวสองนี้มือ และในระวางที่พระโลกษามอํานพุทธศาสตร์เข้าไปเผยแผ่นั้น ศูนย์กลางของศาสนาเต่าในหลายท้องที่ของประเทศจีน ซึ่งรวมถึงในมหานครลัวหยางอันเป็นศูนยากลางการแผ่คัมภิธรรพระพุทธศาสนาเป็นภาษาจีนด้วยได้ปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติสมาธิของตนมาเป็นการนึภาพขององค์เทพไว้ที่จุดต้นเขื่อน ในทำเนือ่งเดียวกันกับที่ชาวพุทธลิถึงพระพุทธเจ้าศูนย์กลางกายนันเองในเรื่องนี้ นักวิชาการผู้ศึกษารา่งนี้ได้แสดงความเห็นว่า วิธีการปฎิบัติแบบใหมของเล่านั้นได้รับอิทธิพลมาจากวิธีการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา ที่เผยแผ่ในประเทศจีนอยู่ในช่วงเวลานั้น (Bumbacher 2007: 221, 228)