ข้อความต้นฉบับในหน้า
แก่นล้วนอู่ที่เราจงอยู่ในใจ พระพุทธฉันของท่านพระโคดม ก็ฉันนั่นเหมือนกัน คือปราศจากกิเลส เปลือก สะเก็ด และกะพี่ คงเหลืออยู่แต่อดีคำอันเป็นสาระสัน
เมื่อเปรียบเทียบเนื้อความของฉบับภาษาจีนกับฉบับภาษาบาลีแล้ว พบว่าในย่อหน้านี้ เนื้อเรื่องกล่าวถึงคนละอย่าง กล่าวคือ พรหมณวัตสุตปุริเยะในสังยุทกามะจีนกล่าวถึงพระพุทธองค์ว่า กิเลสอาสะของพระองค์ลายสิ้นไปหมดแล้ว คงเหลือแต่เพียงธรรมภายในเป็นแก่นแท้ของชีวิตยังดำรงอยู่ ส่วนพรหมณอิติคำว่าจันโคตรในมัชฌิมินายบาลี กล่าวถึงคำสอนของพระองค์ว่า ปราศจากกิเลส ฯลฯ โดยมีได้เปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนว่า ถึงใบนั้นร่วงหล่นในยืนเปรียบเหมือนอะไร
ส่วนในแห่งความสอดคล้องกันกับหลักการของวิชาชาติธรรมายนั้น พบว่าเนื้อหาของฉบับภาษาจีนสอดคล้องกันในประเด็นที่ว่า พระพุทธองค์ทรงกำจัดกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว คงเหลือแต่เพียงธรรมภายในเป็นสารที่แท้จริงที่ยังดำรงอยู่ ส่วนฉบับภาษาบาลีก็สืบว่าสอดคล้องในแห่งของหลักธรรมทั่วไปที่ไม่เกี่ยวข้องกับธรรมปฏิบัติโดยตรง กล่าวคือพุทธวจนของพระพุทธองค์นั้นปราศจากสิ่งที่ไร้สาระ มีแต่เพียงถ้อยคำที่เป็นประโยชน์เท่านั้น
ความแตกต่างของเนื้อหาของพระสูตรในทั้งสองฉบับนี้ บ่งชี้ถึงความแตกต่างในกัน ต่างในการบันทึกคำสอนของชาวพุทธนิกายหลักคนละนิกาย ที่ก่อจะมีรายละเอียดเนื้อหาแตกต่างกันมากบ้างน้อยบ้าง เป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอในการศึกษาเปรียบเทียบคืนรึในลักษณะนี้
หน้าที่ 3 คันธาระ เอเชียกลาง และประเทศจีน | 249