ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
“พระธรรมสามไตร” มีความในคัมภีร์ปฏิบัติธรรมหาจากเวียงจันทน์ (พระมหาโชติญาโญโณ 2479: 289-90) แต่คัมภีร์จากสองแห่งแสดงการเปรียบเทียบและแนวทางการพิจารณาที่แตกต่างกัน การบูชาแก่ 5 โกฐฐาส (ตรงกับ “แก้ว 5 โกฏฐา” ในคัมภีร์มูลลัมฐานอธิบายธรรมล้านนา) อันได้แก่ พระรัตนตรัย ครูผู้สอนภรรฐานและพระธรรมฐานก็มีความว่าไว้ในคัมภีร์เหล่านี้ด้วยเช่นกัน (พระมหาโชติญาโญโณ 2479: 166) และหลักสูตรการสอนสมาธิในคัมภีร์ในสนามขบที่แบ่งเป็นชั้นๆ อาจเทียบได้กับการแบ่งเป็น “ห้อง” ของสมณวิปัสสนาโบราณ เป็นต้น ความคล้ายคลึงกันในหลายประกายระบุว่าคัมภีร์โยคาวจรกับคัมภีร์สมาธิสมัยสมาธิน่าจะมาจากสายการปฏิบัติเหมือนกันหรือมีต้นเค้ากัน
หลักการบางอย่างโยคาวจรก็แตกต่างจากวิชชาธรรมกาย ในขณะที่วิชชาธรรมกายจะสดคล้องกันกับพระไตรปิฎกบทสํากมากว่า เช่นในประเด็นที่ว่าการกำจัดดิสรัสและบรรธธรรมเป็นอธิษฐานไม่ได้ในขณะนี้เท่านั้นที่เข้าเนื้อสมบัติ และเส้นทางของการบรรลุธรรมผลนั้นจะดำเนินจากมรรคนและผลเบื้องต่ำขึ้นไปสู่มรรคและผลเบื้องสูงตามลำดับ มีได้เป็นการดำเนินตามมรรควิถีจนจบแล้วจึงเริ่มดำเนินตามผลวิถีตามแนวทางของโยคาวจร
ความแตกต่างที่พบในเชิงการบรรลุมรรคผลระหว่างวิชชาธรรมกายและโยคาวจรนั้น การบรรลุธรรมของพระมงคลเทพมุนีไม่ใช่เป็นการได้รับอิทธิพลจากคำสอนของชาวพุทธร่วมสมัย และซึ่งความเป็นไปได้ของคำกล่าวว่าที่ว่า ท่านค้นพบวิชชาธรรมกายจากการปฏิบัติด้วยตนเอง
[Page number: 430 | ดร.ชนิดา จันทาร ศิโล]