ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
จากการศึกษาเนื้อหา คาดว่าคัมภีร์นี้น่าจะเรียงเชิงขึ้นเพื่อเป็นคู่มือแนะนำการปฏิบัติธรรมของพระภิษฐเป็นหลัก ส่วนการที่นำการปฏิบัติธรรมทั้ง 4 วิธีมารวมกันแล้วตั้งชื่อว่า "จตุราราขา" น่าจะเป็นเพราะเป็นวิธีการสำคัญในการฝึกจิตรักษาไม่ให้ม้วนหมองจากขั้วคือเอล เป็นการกำจัดนิวนิรันดร์ ทำให้เกิดการเห็นแจ้งในที่สุด ดังมีรปูไว้ในอรรณถดกว่าพระพุทธองค์ตรัสสอนอุตุกรรมฐาน เมตตาวาณา และเมตตาสุข สำหรับบรรเทากิเลส 3 ตระกูลหลักได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ตามลำดับ และทรงสอนพุทธานุสติเป็นต้นสำหรับผู้ที่มีศรัทธาจริง (KhpA.232)
ส่วนการที่นำบทพุทธรรฐานสติกมาไว้เป็นอันดับแรกน่าจะเป็นเพราะเป็นกรรมฐานที่บรรเทาได้ทั้งราคา โทสะ และโมหะ ทำให้เกิดปีติสุข กายสงบ และจิตตั้งมั่น (AA.V.329) ผ่องใส ปราศจากนิิวรมณ์ เกื้องลู่ต่อการปฏิบัติตรรฐานอื่นโดยเฉพาะอสุภธรรมาน ทำให้ตร่าเร่ง เข้าถึงสมาน และหยั่งล่วงอริยภูมิได้ (AA.II.20-21) ส่วนวัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความสงสเว 8 ประการนั้น ท่านผนวกไว้ในตอนท้ายสุดเพื่อเตือนใจให้ผูปฏิบัติจง่าความเป็นจริงของสรรพสิ่งแล้วเกิดความสงบไม่ประมาทในชีวิต หมันตเตือนตนเองให้ร่งทำความเพียรเพื่อจะได้บรรลุธรรมผลนิพพาน ซึ่งน่าเป็นวัตถุประสงค์ของการแต่งคัมภีร์นี้
มีเนื้อบางส่วนของคัมภีร์จตุรารขาขาปรากฏอยู่ในคัมภีร์บัลลิบอื่น ๆ เช่น พจนาถที่ 11 ในคัมภีร์สันทินีบูรณ์4 และสองบทแรกของคาถาที่ 1