ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ในตอนที่ว่าด้วยพุทธธรรมสุดี จะเห็นได้ว่า หมายถึง "การหยุดนิ่งที่เป็นแก้ว" (ตรนมย สุติติ) นั่นเอง
เมื่อเปรียบเทียบกับวิชาธรรมภาย อาจกล่าวได้ว่ามีความคล้ายคลึงกันในแง่ของการเข้าสู่ "รัตนะ" คือแก้วภายใน หากด้วยเหตุที่การจำแนกประสบการณ์ภายในมีความละเอียดอ่อน สิ่งที่เห็นว่าเป็นแก้วนั้นจึงอาจเป็นเพียง "กุศลนิพิต" หรืออาจเป็น "ธรรมแท้ที่เข้าสั่น" ก็ได้
องค์ การให้คำจำกัดความของขั้นตอนสุดท้ายของการปฏิบัติต่อแบบที่ระบุไว้ในคัมภีร์นี้ แม้จะมีความแตกต่างกันบ้าง แต่ก็มีจุดร่วมเดียวกันคือ การที่ "ความรู้เห็น" กลับเข้าสู่ภายในของผู้ปฏิบัติ เช่น
- ในบทว่าด้วยอานาปนสติ ลงท้ายด้วยข้อความว่า "ลำดับนั้น สิ่งที่จะพึงรู้ทั้งปวงนั้นกลับเข้าไปภายในในาย (อรรค) ของผู้ปฏิบัติ" (Schlingloff 1964: 80; Cf. Ruegg 1967: 165)
- ในบทว่าด้วยกรณาพราหมวิหารภาวนา "ในที่สุด สิ่งที่จะพึงรู้ทั้งปวงได้มารวมหยุดที่สะดือ พระพุทธเจ้าหลายผู้ทรงประทับนั่งบนดอกบัวปรากฏขึ้นในกาย" (Schlingloff 1964: 148)
- ในบทว่าด้วยการพิจารณาปฏิจจสมุปบาทและพุทธราษฏ "ในที่สุด สิ่งที่จะพึงรู้ทั้งปวงก็รวมหยุดที่สะดือ" (Schlingloff 1964: 114, 179)
การที่ความรู้ความเห็นย่อมกลับเข้าสู่ภายในนั้น ในความหมายของวิชาธรรมภายในเป็นการเริ่มต้น คือการเข้าสู่มรรค ที่ผู้ปฏิบัติจงต้องดำเนินต่อไปในกลางของกาย (มัชฌิมาปฏิบา) ยังคงไม่การสิ้นสุด
284 | ดร.ชัณดาว จันทร์ศรีโสฬ