ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์ப்ทูตโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
หลักและเล่ ได้แบ่งระยะเวลาราวพันปีของการแปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาจีนออกเป็นสามช่วงหลัก ดังนี้ (Luo and Hong Lei 2004: 20)
1. ในราช่วงศึ่น (พ.ศ. 568-763) ผู้แปลหลักคือพระธรรมฑุตชาวต่างชาติ
2. ในราชช่วงศึ่น (พ.ศ. 1161-1450) เป็นความร่วมมือการทำงานแปลระหว่างพระธรรมฑุตชาวต่างชาติกับคนจีน
3. ในราชช่วงศึ่ม (พ.ศ. 1503-1822) นักแปลชาวจีนดำเนินการเป็นหลักทั้งหมด เพราะมีทักษะความชำนาญการแปลอย่างมากแล้ว
ในช่วงแรกของการแปลพระคัมภีร์นี้ มาหานครลั่วหยางมีบทบาทสำคัญในฐานะศูนย์กลางการแปลของประเทศ โดยมีเหล่าพระธรรมฑุตชาวต่างชาติเป็นผู้ให้นำเสนอพระธรรมฑุตต่างชาติเหล่านี้บ่งท่านเป็นชาวพาร์เรีย บางท่านเป็นชาวกุญาณนะ ชาวอินโดเชียน ชาวชอกเดียน และอินเดีย (Tajadod 2003: 61) หนึ่งในนักแปลสำคัญคือพระอัญเชิญถาว
รื่ (Rhie 1999: 23-4) ได้แย่งช่วงงานแปลในสมัยราชศกึ่นไว้อย่างได้แก้
ช่วงแรก เกี่ยวเนื่องกับพระอัญเชิญถาว ชาวพาร์เรีย ผู้ก่อั้งสำนักกลานามาที่มีฐานคำสอนของหินยาน โดยมีศิษย์ผู้ใกล้ชิดคืออุบาสิกเจิ้งหยู่ (陳慧) และพระคังเช็งหยู่ (康僧會) หรือพระสังฆปาละ ท่านทำงานแปลอยู่ในช่วงเวลาราว พ.ศ. 698-712 (ค.ศ. 155-169)
ช่วงที่สอง เกี่ยวเนื่องกับพระโลกเกษมผู้มาจากแคว้นกุญาณะ ท่านเดินทางมาถึงนครลั่วหยางประมาณปี พ.ศ. 693 และทำงานแปลในปี พ.ศ.