ข้อความต้นฉบับในหน้า
707-729 (ค.ศ. 164-186) พระโลกษรมเน้นการแปลคัมภีร์มหายาน ซึ่งได้กลายมาเป็นแหล่งคัมภีร์มหายานที่สำคัญในยุคแรกของจีน เช่น ครุ่งคงสมาธิสูตร (Shou Lenyant Sanmei jing 首楞嚴三昧經) ปรัชญุตินน (สมาธิ) สูตร (Banzhou Sanmei jing 船舟三昧經) อาชาตัตตราชสูตร (A she shi wang jing 阿闍世王經) ปรัชญาปรามิตาสูตร (Za Pi Yu Jing 雜毘喩經) เป็นต้น พระต่างชาติต่างในมณฑลคริสต์แห่งร่วมสมัยกับพระโลกษรคือ พระ จีอเหย่า (支曜) ชาวกุษาณะ และพระคังจู๋ (康巨) ชาวซอกเดียน หนึ่งในงานแปลที่ประสบความสำเร็จอย่างมากในยุคนี้คือ อุครปริปฏิภาณสูตร (Ugrapari-prccha-Sūtra) ซึ่งอธิบายแนวคิดการพัฒนาสู่การเป็นพระพุทธเจ้าในขณะที่ใช้ชีวิตแบบบรรลวาล เป็นผลงานของอุบาสกอันเสวิน (An Xuan 安玄) ผู้นำทางมาถึงล้วงหยางในปี พ.ศ. 724 ร่วมกับหยยานโฟเถียว (嚴佛(浮)調) พระก็ฤาชวาจินแห่งบูรณของประเทศ (Rhie 1999: 25) ช่วงที่สาม คือ ช่วงของคณะศิษย์ของพระโลกษม เช่นจื่อเลิ่ง (Zhi Liang 支亮) ท่านธรรมปาละ (Tan Guo 墨果) ร่วมกับจู้ถ่าย (笞大) คังเมิง เสียง (康孟祥) ชาวซอเกเดียน ผู้นำเรื่องราวพุทธประวัติเป็นคนแรก พระอันชื่อกวา เป็นหนึ่งในนักแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนาเป็นภาษาจีน ในยุคบุคเบิก ท่านถือถิ่นฐานในฐานะมกุฎราชกุมารแห่งแคว้นพาร์เนีย บวกในนิยายสารวาสติวาท ต่อมาได้เดินทางสู่มหานครลัวหยางและอาศัยอยู่ในเมืองนี้ เป็นเวลาหลายปี ท่านได้แปลพระคัมภีร์ออกมาจำนวนมาก นักประวัติศาสตร์ด้านพระพุทธศาสนาเชาว์จีนต่างยอมรับในบทบาทที่สำคัญของท่าน และมีการเรียบเรียงชีวประวัติของท่านขึ้นมาหลายฉบับ เช่น “สารานุกรมบันทึก