ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
หลักคำสอนของพระธรรมาสามไตรนี้เป็นเบื้องต้นมีจุดประสงค์ให้พระ ภิกษุอำงอยู่ในความไม่ประมาท ระลึกถึงความตายอยู่เสมอ โดยผูกเหตุของ ความตายไว้กับมารายใจเข้าออกว่า หากนายใจออกแล้วไม่เข้า หรือนายใจเข้า แล้วไม่ออกก็ต้องตาย แล้วนำไปผูกไว้กับสามผืนเพื่อเป็นเครื่องเตือนใจในทุก เวลาเช่นนี้ โดยท่านบรรยายไว้ว่า “เมื่อฉันนุ่งผ้าสบงนั้นได้ชื่อว่า พระสุรจเจ้ารักษามะให้หายใจออก ปให้เราตาย” (ญาณก. 4.2) และ
อัศจวาท พระสุตรเจ้าพาอญจั่งจ๋าได้ออกไปให้คู้ได้ เหรียญมือหนุ่งผ้าสบง ครั้นดืนเข้ามา ถูกฆ่าดุ้ยตายบัดเดี๋ยวนี้แหละ ดู จักหยุบผ้าสงนึงบ่งบได้แแล ให้ระนีถึงละมหายใจออกมานั้นมา เป็นที่พึ่ง ผ่าสงรักษามอวายใจออกนั้นบให้ตาย (ญาณก. 4.3-4.4)
คราใดที่จะหมายผ้าจิว ก็ให้ระลึกในทานเองเดียวกันว่า พระวินัย 5 คำมีธี ช่วยรักษามายใจเข้า ถ้าเราหายใจเข้าแล้วไม่ออก เราก็ตาย ไม้ถามโมจิรได้ เมื่อจัหมายผ้าจิวนี้เล่ให้ระนีกรับสวาด พระวินัยเจ้าหา คัมภรีมาให้หายใจเข้า จึงจำได้ผ้าจิว ครั้นว่าคืนออกมา ตัวก็ตายเน่ากองอยู่แล จักให้พระเจ้ากวานดวยตนได้เลา แล เมื่อจัหมายผ้าจิวรั่น ก็ให้ได้ระนิดึงนี้ทุกเมื่อทุกมายม ห่มผ้ จิว แล้วจึงจักเข้าไว้พระวินัยรักษามันหายใจเข้า ไปให้ เรายตนายนี้เป็นที่พึ่งแก่เข้า (ญาณก. 4.5-5.1)
และในเวลาที่จะพาดผ้าสังฆาฏิ ท่านแนะนำให้ระลึกดังนี้