ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภิทิพทิพธฺโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
เป็นตัวอ่อนของโลกุตตรธรรม, เป็นตัวอ่อนของธรรมอันบริสุทธิ์
ที่อยู่ภายใน (Wayman and Wayman 1974: 106)¹
คำสอนในแนวคิดถากถากตรภาคีนี้ตรงกันกับคำสอนในพระไตรปิฎก
บาลี ที่ว่า จิตตั้งเดิมนั้นเลื่อมประลังศสรรแต่มาศราหมองลงไปเพราะอุบกิเลสที่
รามา และจิตนั้นหลุดพ้นจากอุปกิเลสที่รามาได้ บุญญผู้ไม่ได้ระดับธรรมนี้อ่อน
ไม่ทราบตามความเป็นจริงและจึงไม่ยอมเจริญภาวนา ตรงกันข้ามพระอริย
สาวกผู้ได้ระดับธรรมนี้ ทรงชัดตามความเป็นจริง จึงเจริญสมาธิภาวนา (อง.
เอก. 20/50-53/11-12)
แม่ว่าพระไตรปิฎกสล่ะไม่ได้คิดว่าวิพฤตธรรมะโดยตรง แต่ว่าที่บอกว่า จิตเป็นของผ่องใสมาแต่เดิมแล้วมาศราหมองในภายหลังเพราะกิเลสที่รว
นก็แสดงถึงWhite ทีที่ของจิตาสว่าสเป็นอาคันตุกะ คือจรจากที่อื่น ไม่ได้เป็นของที่
ติดตัวมาแต่เดิม ยิ่งกว่านั้นการที่บอกว่าจิตหลุดพันจากสิ่งเศร้าหมองได้ก็แสดง
ถึงศักยภาพของมนุษย์ในการตรัสรู้และกำจัดกิเลสนั้นเอง
ในหลักการของวิชาอธรรมาภิญญา (ดู 2.2.2) มนุษย์ทุกคนมีกายละเอียด
ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ เข้ไปภายในตามลำดับ กายที่ซ้อนอยู่ภายในมีความสะอาด
บริสุทธิ์มากขึ้นไปเป็นลำดับ หากนับจากภายนอกเข้าไป จะเริ่มตั้งแต่กาย
มนุษย์ซึ่งเป็นกายที่มีกิเลสหนาแน่นที่สุด ไปถึงกายทิพย์ กายรูปพรหม กาย
อรูปพรหม ที่กิเลสเบาบางลงเรื่อย ๆ จนสุดท้ายถึงธรรมกายอรหัตที่หมดจด
จากกิเลส ธรรมกายข้างในสุดนั้นเป็นธรรมชาติด้านเดิมที่บริสุทธิ์อย่างแท้จริง
¹ จากรายงานการวิจัยของ พระเกษตร ฐานุวิทโชโช (2557)
214 | ดร.ชนิดา จันทารศรีโล