ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์ พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
นัยที่สี่ คล้ายกันกับนัยที่สามแต่สับ ญาณจักษุ กับ ปัญญาจักษุ กล่าว คือพระพุทธรองประกอบด้วยจักษุ 2 ประการได้แก่ มังสัจจะ และปัญญาจักษุ ส่วนปัญญาจักษุแก่บออกเป็น 5 ประการ ได้แก่ พุทธจักษุ สมันตจักษุ ญาณจักษุ ทิพยจักษุ และ ธรรมจักษุ (อิติอ. 113, ปฏิอ. 1/86, สงอ. 365)
คาถาธรรมภาย กล่าวถึง “ดวงตาพระธรรมภายใน” ไว้ตามนัยที่สอง หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็น “ญาณจักษุ” ตามนัยที่สาม ซึ่งประกอบด้วย ทิพยจักษุ ปัญญาจักษุ สมันตจักษุ พุทธจักษุ และธรรมจักษุ (อิ่มนายนาย กุ. 1.4-1.5; Coedès 1956: 260) แต่ นบรรณาธิบาย กลับให้ความหมายเสมือนกำลังขยายความ “ปัญญาจักษุในนัยที่สี่” กล่าวคือ แสดงความหมายของ พุทธจักษุ ธรรมจักษุ สมันตจักษุ ญาณจักษุ และทิพยจักษุ (อิ่มนายนาย กุ 2.3-2.5; Coedès 1956: 268) รวมทั้งแสดงความหมายสองด้านของมงสัจผู้ไวด้วยตามนัยที่ปรากฏในอรรถกถานั่นเอง
แต่ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดก็อตาม เช่นการที่คาถาธรรมภายเลือกที่จะแสดงจักษุ 5 ประการ ตามนัยที่สองหรือสาม หรือที่บรรณาธิบายแสดงไว้ในนัยนี้ ส่วนมีสิ่งที่ตรงกันอยู่หนึ่งคือ แสดงธรรมจักษุไว้แทนมงสัจ ทั้งนี้นาจะเนื่องด้วยเหตุผลของการแสดงคุณสมบัติของธรรมย คือได้กล่าวถึงรูปร่างของพระพุทธองค์นั่นเอง
ง. ความรู้แจ้งของพระธรรมภายในคัมภีร์ริ้มภายาเทียบเคียงกับวิชาธรรมภายใน
คาถาธรรมภายในคัมภีร์พระธรรมภายาเทียบกล่าวถึงจักษุทั้ง 5 ของพระธรรมภายา ได้แก่ ทิพยจักษุ ปัญญาจักษุ สมันตจักษุ พุทธจักษุ และธรรมจักษุ