ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ประเด็นของหลักคำสอนทั่วไปที่สอดคล้องกันระหว่างคัมภีร์ที่พบในภูมิภาคนี้กับหลักการของวิชชาธรรมภาย มีหลายแน่มุม ดังต่อไปนี้
3.1.1. พระพุทธองค์ทรงเป็น "พุทธะ" เท่านั้น
คัมภีร์นี้มีอายุรวม พ.ศ. 544-593 (ครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 1)¹ จารึกในภาษาคานธรี มีเนื้อหาตอนหนึ่งตรงกันกับโทษสูตรในอังคุตตรนิทายาลี จุตุกนิบาต (องค์.เอก. 21/36/48-50) และพระสูตรจีนนอีก 3 พระสูตร เนื้อความกล่าวถึงโทษพรหมแต่เดินตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพราะเห็นหลายจักรที่ฝาพระบาท เมื่อได้เข้าเฝ้าในขณะพระองค์ประทับอยู่ใต้ต้นไม้นั้นแล้ว จึงชื่นชมพระพุทธลักษณะและกราบทูลถามว่า พระองค์ทรงเป็นเทวดา คณาธรรพ์ ยักษ์ หรือมนุษย์ พระพุทธองค์ทรงปฏิเสธทั้งหมดว่า พระองค์มิได้เป็นเทวดา และมิได้เป็นคณาธรรพ์ ยักษ์ หรือมนุษย์ อย่างใดอย่างหนึ่งเลย เพราะกลสอนเป็นเหตุให้กลายมาเกิดเป็นเทวดา คณาธรรพ์ ยักษ์ หรือมนุษย์นั้น พระองค์ก็ได้กำจัดเสียสิ้นแล้ว พระองค์ก็เป็น "พุทธะ" ผูไม่ติดอยู่ในโลก เสมือนดอกบัวไม่ติดอยู่ในน้ำและโคลนตม ฉะนั้น (Allon and Glass 2001, pp. 124-5)
(Footnote: การประเมินอายุของคัมภีร์ชุดนี้ ในเบื้องต้นเป็นการประเมินจากรูปแบบตัวอักษร ที่เรียกว่าพาเลอกราฟิก ดริติง (Allon and Glass 2001: 67) คำนี้ศึกษาขึ้นเป็นครั้งที่ 12 และ 14 ของคัมภีร์ในกลุ่ม British Library Collection ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะค้นพบได้หลายบ้านอิฐดา ในที่สุดจะออกของประเทศอิทธิปากนิสิกาด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ 1) การนำบอกเล่าของตาวกลางในการขายคัมภีร์ชุดนี้ให้หอสมุดแห่งชาติซึ่งกุฎุขว่าพบคัมภีร์ที่ดัดดาม และ 2) คัมภีร์ชุดนี้ได้มาพร้อมกับหม้อบรรจุ ขณะเดียวกันขอความรักใคร่ในอธิษฐานไว้ให้พระในภายธรรมนิยมมาก็คือ คัมภีร์ และหม้อที่จารึกด้วยอักษรโบราณในท้องถิ่นพบได้ทั่วไปในพระสุสโบราณจำนวนมากบนพื้นที่ราบ Jalalabad ที่เคยเป็นตำบลนคราทาระในคุโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพระสุปลบรื่นใกล้หมู่บ้านอิฐดา (Salomon 1999: 20)