ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาภิบาลในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
หรือเรียกว่าปฐมมรรคน หรืเรียกว่า ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เทวดาจันทร์ ดวงอาทิตย์ ใจก็หยุด นิ่งอยู่กลางดวงนั้น พอ
หยุดนิ่งลูกส่วนเข้าเท่านั้น หยุดในหยุด หยุดในหยุด หยุดใน
หยุด พอถูกส่วนเข้าเท่านั้น หยุดในหยุด กลางของหยุด หยุด
ในหยุด กลางของหยุดเรือเข้า เห็นดวงอีกกลางหนึ่งเท่าๆ
กันอยู่กลางดวงมณฑปัสสนาสติปัฏฐานเรียกว่า ดวงศี หยุด
อยู่กลางดวงสีฉัน พอถูกส่วนเข้า เห็นอีกดวงหนึ่งเท่าๆ กัน
เรียกว่า ดวงสมาธิ หยุดอยู่กลางดวงสมาธินั้น พอถูกส่วนเข้า
เห็นอีกดวงหนึ่งเรียกว่า ดวงปัญญา ดวงเท่าๆ กัน หยุดอยูกลาง
ดวงปัญญานั้น พอถูกส่วนเข้า เห็นอีกดวงหนึ่งเรียกว่า ดวงวิสุทธิ
ใส ละเอียด หนักลงไป หยุดอยู่กลางดวงวิสุทธินั้น พอถูกส่วนเข้า
เห็นอีกดวงหนึ่ง เรียกว่า ดวงวิญญติสุขสนะ (ธร. 910-1)
จากข้อความที่แสดงเปรียบเทียบกันไว้ข้างต้น เห็นได้ว่า ดวงศีที่กล่าว
ถึงในคัมภีร์ใกล้กันมูลพระมหามุขฐานนั้น มีความคล้ายคลึงกันกับที่กล่าวไว้ใน
วิชาชาธรรมภายในแง่ของการเป็นดวงกลมที่มีรัศมีสว่างใส แต่มีความแตกต่าง
กันในประเด็นที่ดวงศีในคัมภีร์ใบด้งแง่มองเรียกชื่อดวงแต่ละชื่อ และแตก
ต่างกันในขั้นตอนของการเข้าถึง ซึ่งเป็นเครื่องบ่งชี้ว่า “ดวงศี” ที่
กล่าวไว้ในคัมภีร์เขมรกับ “ดวงศี” ในวิชาชาธรรมภายน่านั้นจะไม่ใช่สิ่งเดียวกัน
อย่างไรก็ดี การกล่าวถึงศีในฐานะที่เป็นดวงใสม่องเห็นได้จากการปฏิบัติ
ธรรมก็เป็นความสอดคล้องกันโดยหลักการเบื้องต้น แม้จะแตกต่างกันใน
รายละเอียด
452 | ดร.ชนิดา จันทารศรีไศล