ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข้อความที่อ่านได้จากภาพมีดังนี้:
"ข้อความเกี่ยวกับพุทธนูสติที่พบในพระไตรปิฎกส่วนใหญ่จะแสดงถึงความสำคัญและอานิสงส์ของพุทธนูสติ เช่น แสดงไว้เป็นอันดับแรกของอนุสสติฐาน “ที่ตั้งแห่งการรำลึก” (อญ.ฉุกก. 14/280/317) และเป็นประการแรกในอนุสสติทั้ง 6 ที่พึงเจริญเพื่อความรู้แจ้ง เพื่อการละ เพื่อความสิ้น ความเสื่อม ความดับไปแห่งราตะ โทสะ โมโห และอุปิเกสทั้งหลาย (อญ.ฉุกก. 14/398-401/502-3)51 การระลึถึงพุทธคุณทำให้มีสติ มีมติเหมือนใดอยู่ร่วมกับพระพุทธเจ้า จิตตะเป็นสมาธิ ไม่ฟุ้งซ่าน เป็นอัคคตกรรม (มีอารมณ์เดียว) มจิติเบิกบานเนื่องๆ (ขุ.เถร. 26/348/326) ทำให้ไม่มีความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้ากลัวใดๆ (สส. 15/865/322) ทำให้เป็นผู้ไม่เกียจคร้านตลอดทั้งกลางคืนและกลางวัน (ขุ.เถร. 26/342/321-2) ย่อมละถามได้โดยการข่มไว้ (ขม. 29/12/7) ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายคลายกำหนด เพื่อความดับ เพื่อสงบระงับ เพื่อรุ่งเรือง เพื่อสรู่รส เพื่ออนิพพาน (อง.เอก. 20/179/39)
เอกม.โม ภิกขเววาติพหลิโต เอกนุตตนีพุทธาย วิรคาย นิธราย อุปสุเมย อภิญาย สุมโพราย นิพพานาย สัจจุตตติยา กตโม เอกม.โม พุทธนุสติฎฺฐฯ (อง.เอก. 20/179/39)
51 พระไตรปิฎกฉบับสมบูรณ์ แสดงข้อความไว้โดยย่อว่า “ธรรม 6 ประการนี้” แต่ไม่ได้แสดงรายละเอียดไว้ว่าในแต่ละข้อว่าไงบ้างในตอนหลัง ที่กล่าวถึงความสงบไปแห่งลังหลาย ส่วนในฉบับอนุสสติของพม่า แสดงข้อความไว้โดยเน้นำเดียวกัน แต่แสดงจำนวนข้อธรรมที่กล่าวถึงไว้ด้วยทำให้มีความชัดเจนว่า กำลังกล่าวถึงอนุสติ 6 เริ่มตั้งแต่พุทธนูสติด้วย ในจำนวนธรรม 6 ประการที่พึงเจริญเพื่อให้รู้แจ้ง เพื่อการละ เพื่อความสิ้น ความเสื่อมไป ความดับไปแห่งราตะ โทสะ โมโห และอุปิเคราะหลาย (A.ll.393 CS)
บทที่ 4 เอเชียอคาเนย์ | 363"