ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข้อความที่ได้จาก OCR คือ:
ซึ่งในกรณีนี้ เกษมสุขได้แสดงความเห็นไว้ว่า พระธรรมกายมีได้ประกอบด้วยดิน น้ำ ลม ไฟ หากเป็นกายที่ประกอบด้วยธาตุธรรม เป็นภาวะอันแท้จริงของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นที่มาของคำสอนที่ผ่านออกทางพระโอษฐ์ คือเป็น “ใจและปัญญา” ของพระองค์เอง (หน้า 13)
ในความเห็นของเกษมสุข ความหมายของธรรมกายที่รวบรวมมานั้นเป็นตัวบ่งชี้ว่า ธรรมกายมิใช่คำใหม่ ของใหม่ หรือสิทธิ์ใหม่ในพระพุทธศาสนา แต่เป็นของเก่าที่มีมาแต่เดิม และแม้จะแก่ถึงมากในคัมภีร์มหายานก็ตาม หากธรรมกายมิได้เป็นของพระฝ่ายมหายานเท่านั้น องค์ ด้วยข้อจำกัดของการถ่ายทอดสืบต่อกันมาผ่านตัวอักษร บนพื้นฐานของความชำนาญด้านภาษาและความเข้าใจในปรัชญาเชิงพุทธ จึงเป็นไปไม่ได้ที่น่ายามของธรรมกายจะถูกเก็บรักษาและถ่ายทอดได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ทั้งหมด แต่ดังนั้นการที่มีรากฐานในทุกนิกายก็กล่าวถึงธรรมกายไว้ย่อมเป็นสิ่งที่บ่งบอกว่า ธรรมกายคือแก่นแท้นั่นเป็นพื้นฐานของพระพุทธศาสนาที่เชื่อมร้อยทุกนิกายไว้ด้วยกัน
2.4.3. ธรรมายาก “ธรรมกายในคัมภีร์เถรวาท”
ในปี พ.ศ. 2543 เช่นเดียวกัน ผู้ใช้งานปากกาว่า “ธรรมายาก” ได้รวบรวมข้อความเกี่ยวกับธรรมกายจากคัมภีร์เถรวาท รวมทั้งหลักฐานทางโบราณคดีและหนังสือเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่กล่าวถึงธรรมภายในยุคสมัยนั้น เช่น ทิพยอำนาจ และพุทธรังษีอัญญาณ
หลักฐานทางคัมภีร์ที่นำมาแสดงไว้ เป็นข้อความจากพระไตรปิฏก 4แห่ง (หน้า 2-5) อรรถกา 25 แห่ง (หน้า 6-19) และภูมิภาคพระวินัย 5 แห่ง (หน้า 20-22) รวมทั้งในคัมภีร์วสุทธิมรรค 2 แห่ง (หน้า 23-24) และมิลินท