ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
2. เมื่อเข้าถึง "สมาธิ" ย่อมได้เข้าถึงพระพุทธคุณอันเป็นจินไตย ด้วย (คาถาที่ 4) ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของวิชชาธรรมภายในการเข้าถึง "ผู้รู้ภายใน" คือธรรมภายในเป็นทางมแห่งคุณสมบัติ เช่น วิชาช 8 ที่ทำได้ คือเข้าถึงธรรมภายใน เป็นต้น (รธ. 28-9)
3. ในคาถาที่ 9-12 ท่านกล่าวถึงอานิสงส์ของการตรีกะลิกถึงพระพุทธคุณ ว่าจะทำให้มีจิตใจสงบ ตั้งมั่น และมีความรักขวางกั้น และย่อมมองเห็นพระพุทธเจ้าหลายพันโภคิหรือรามาถึงว่าสมควรในแม่พระนำคา และสอนให้ตั้งความปรารถนาดิ่งถึงพระโพธิญาณอันเป็นจินไตย
4. ในคาถาที่ 7 มีข้อนความกล่าวไว้ว่า สมาธิถึกสุขญาติก็คืออันเดียวกันและเนื้อความในคาถาที่ 13-20 ที่เสมือนจะจงถึงการปรับเปลี่ยนสภาพของประสบการณ์ในการปฏิบาตระดับเบื้องต้นไปสู่ระดับที่ละเอียดขึ้น คือ ในคาถาที่ 13 พระสูตรสอนให้ระลึกถึงลูกพระพุทธองค์ นับเป็นบริกรรมมิฏ
คาถาที่ 14 สอนให้ดำรงอยู่ในอธิษฐานใหองเห็นทุกสิ่งว่าม่าว่าคอบ
คาถา 15 การดำรงอยู่มั่นคงในพระธรรมภายในรับรู้ทุกอย่างว่าเป็นภาวะหลุดพ้นจากการรับรู้อภาวะ และไม่เห็นพระพุทธองค์โดยรูปภาย
คาถา 16-19 เมื่อเข้าสู่จุดนี้ของสมาธิใจจะยืนแน่นแน่อยู่กับพระพุทธองค์และพุทธคุณมากขึ้น ในที่สุดจะตั้งความปรารถนาที่จะเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคต และเคารพหลักการอานุภาพอันยิ่งใหญ่ของพระองค์
คาถาที่ 20 จิตของผู้ปฏิบัติจะยิ่งสงบมากยิ่งขึ้น และจะสรรเสริญพระพุทธเจ้าทั้งหลายตลอดเวลา และจะเห็นพระพุทธองค์ตลอดคืนและวัน