ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่ปส่งออกมานั้นเอง
ส่วนคำว่า สมบัติญาณ คำวิถีอธิบายว่าเป็นญาณที่เกิดขึ้นจากสมบัติ ผลสมบัติ และนิรสมบัติ และกล่าวต่อไปว่ามสมบัติญาณก็คือสัมพุทธญาณ เป็นที่ร่วมของสมบัติ ผลสมบัติ และนิรสมบัติ ดังนั้น เมื่อกล่าวโดยรวม วิริสมบัติญาณจึงมีความหมายว่า เป็นญาณแห่งความรู้แจ้ง อันเกิดจากสมบัติ ผลสมบัติ และนิรสมบัติ ได้แก่พระสัมพุทธญาณอันมีศีลโช่ช่วงเป็นอย่งยิ่ง และเปรียบได้กับพระอุณาโลมของพระธรรมกาย
ค. จักุญของพระธรรมกาย
พระไตรปิฎกและอรรถกถาบาล กล่าวว่าองค์จักษุของพระผู้มีพระภาคเจ้าไว้ดังน้อย 4 นัย
นัยแรก กล่าวว่า พระมีพระภาคเจ้าาวทรงประกอบด้วยจักุญ 5 ประการได้แก่ มังสหลักฐานิิำพุทธจักุญ ปัญญาจักุญ พุทธจักุญ และสมุนจักุญ (อิติ.อ. 190)
นัยที่สอง กล่าวว่าพระองค์ทรงประกอบด้วยจักุญ 5 ประการ อีกแบบหนึ่ง ได้แก่ พุทธจักษุ ธรรมจักษุ ทิพยจักษุ ปัญญาจักษุ และ สมัตจักษุ (อิต.อ. 190)
นัยที่สาม กล่าวว่าพระองค์ทรงประกอบด้วยจักุญ 2 ประการ คือ มังสจักษุ และ ญาณจักุญ โดยที่ ญาณจักษุ แบ่งออกเป็น 5 ประการ ได้แก่ พุทธจักษุ ธรรมจักษุ สมันตจักษุ ทิพยจักษุ และปัญญาจักษุ (ส.อ. 3/1, พุทธ.อ. 61)