หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ที่เป็นกายสูงสุด เป็นธรรมกาย เป็นกายแห่งสิ้นสุดที่เป็นกายสูงสุด รูปภายก็เป็นเช่นนั้น เหตุไฉนจึงกล่าวเช่นนั้น เพราะว่ารูปภาย [รูปกาย] เกิดจากกรรมที่ยังไม่ถูกต้อง พระพุทธเจ้าทรงสอนทุกสิ่งทุกอย่างถูกต้อง ดังนั้นจึงกล่าวว่าเป็น พระพุทธเจ้า
สองข้อนี้กล่าวถึงตาถัดว่าเป็นธรรมกายและมีคุณสมบัติคือเที่ยง ยั่งยืน ถาวร เป็นต้น ตรงกันกับคุณสมบัติของธรรมภายในและนิพพาน ซึ่งนับได้ว่าดอดคล้องกับหลักการของวิชชาธรรมกาย ดังที่กล่าวมาแล้วในหมา
ปรินิราวสูตร (3.2.3.3)
นอกจากนี่ยังกล่าวถึงตาถัดตรรรณะด้วยถ้อยคำเดียวกัน ซึ่งบ่งบอกถึงความเป็นสิ่งเดียวกันของธรรมภายในและตถาคตรรรณะ ดังที่กล่าวไว้แล้วในตอนต้น
อย่างไรก็ดี การขยายความเกี่ยวกับรูปภายในข้อความที่สอง (1.2.) แสดงให้เห็นแนวโน้มในการรวมคุณสมบัติของธรรมภายในและรูปภายในเข้าด้วยกันซึ่งจะเห็นชัดขึ้นในพระสูตรที่กล่าวถึงรูปภายในว่าเป็นการแสดงออกของธรรมกาย การขยายความในท่านอนนี้ไม่มีในวิชชาธรรมกาย
2. ธรรมกายเป็นกุศโลบาย
2.1. [P165b8] [D158b2] sor mo’i phreng bas mdzes
dga’ la slar smras pa l de bzhin gshegs pa la rus pa’ang med
| rgus pa yang med na | sku gdung dang ring bsrel lta ga
la yod de | ring bsrel med pa thabs ki yichog chos ki yichu
232 | ดร.ชนิตา จันทารศรีโสฬ