ข้อความต้นฉบับในหน้า
มีจารึกอักษรถพราหมณ์ ภาษาบาลีสามบรรทัด บนรอยลักษพระพุทธบาท ข้อความในจารึกแปลว่า “รอยพระพุทธบาทคู่บี ประดิษฐไว้ในสำนักงานสงฆ์ของพระเถราจารย์ฝ่ายมหาวิหาร ผู้เป็นวิฑูยาวาที (วิฑูชาวาที) แกล้วกล้ในการวิจัยอรรถรสและพยัญชนะแห่งนวัศศลาคตร ศรไงซ่ออริ ประเพณี และนำความเลื่อมใสมาแก่ชาวกัมมีธิระ ค้นธระ โยนก นวาศะ และตามปณิธาน เพื่อประโยชน์และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย”
เนื้อความในหลักฐานนี้ตรงกันกับต่านฝายบาลี ที่กล่าวถึงการเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปในหลายๆ ท้องที่ในยุคสมัยของพระเจ้าอโศก ซึ่งคณะสมมุติทั้งหมดนั้นเป็น “วิฑูยาวาที” ทั้งหมด ซึ่งในตำนานฝ่ายบาลี (สิงหล) ดีความว่า หมายถึง “พระพุทธศาสนเถราวาที” ที่พระมหินทเถระได้เน้นไปยังประเทศศรีลังกาและที่คณะของพระมังคลัตถิกะนำไปยังศรีลังกาและที่คณะของพระมังคลัตถิกะนำไปยัง ค้นธระ และตรงกันกับอีกจารึกหนึ่งที่พบในนาคารุงโกลนทะที่ระบุการที่พระสงฆ์เถราวาทีจากศรีลังกาเผยแผ่พระศาสนาไปยังดินแดนดังกล่าว รวมทั้งดินแดนอื่นๆ ของอินเดีย จีน และทมิฬ ด้วย” จารึกเหล่านี้มีอายุราวพุทธศกตรูซี่ 8-9
สำหรับนักวิชาการที่ศึกษาเกี่ยวกับสรรวาสติวามบางท่าน ดูเหมือนคำว่า “วิฑูยาวาที” จะไม่ได้จำกอยู่เฉพาะเทวาสุคเท่านั้น but ย่ำหมายรวมถึงสรรวาสติวามและนิยายอื่นๆ ด้วย (Banerjee 1979: 3-4) ส่วนบางท่านลง
49 จารึกบนพื้นพระเจดีย์อยู่ใกล้ๆ สำนักงานสงฆ์เก่าแก่ที่ขุดค้นพบในนาคารูชโกลนทะ ระบุชื่อของการสร้างในยุคพระเจ้าอชวร์วรุษยุคตะแ ซึ่งประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 3 (กลางพุทธศตวรรษที่ 8-9) Vogel 1929-30, pp. 22-3.