ข้อความต้นฉบับในหน้า
2003: 507) อย่างไรก็ตามตาม เพื่อความไม่สับสนแก่อ่านที่ไม่คุ้นเคย งานวิจัยนี้ จะยังใช้คำนี้ตามความเข้าใจแบบเดิมในการอ้างถึงกลุ่มชาวพุทธที่เรียก ตนเองว่างมหายาน หรือคัมภีร์ที่มีลักษณะของมหายานดังที่กล่าวในทาง วิทยาการพุทธศาสตร์ปัจจุบัน แต่จะเป็นเพียงการแบ่งอย่างหลวมๆ เพื่อความ สะดวกในการกล่าวถึงเท่านั้น
โยคาวจร โดยคำแปล หมายถึงผู้ปฏิบัติสมาธิวาณา อย่างไรดีคำนี้ได้ ถูกนำมาใช้ในความหมายที่กว้างขึ้นในวิชาการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแวดวง การศึกษาพระพุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์ โดยมีความหมายรวมถึงแนวการ ปฏิบัติและคำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบท้องถิ่นที่บื้องอยู่ใน เอเชียอาคเนย์ ในงานวิจัยนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบทที่ 4 จะใช้คำว่าโยคาวจร ในความหมายนี้ ส่วนความหมายเดิมที่หมายถึงผู้ปฏิบัติสมาธิวาณาจะยัง คงใช้ในการแปลบทต่างๆ ตามปกติ
ร้องรอธรรมภาย สิ่งที่สอดคล้องหรือตรงกันกับคำสอนในวิชา ธรรมภาย ซึ่งเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงคำสอนเก่าที่ได้รับการเก็บรักษาและถ่ายทอด สืบต่อมา ซึ่งในปัจจุบันมีปรากฏในคำสอนวิชาธรรมภาย
วิชาธรรมภาย โดยนิยาม “วิชาธรรมภาย” หมายถึงความรู้แจ้งที่ เกิดจากการเห็นแจ้งด้วยญาณสังของธรรมภาย เป็นความรู้แจ้งในระดับ วิบาสนาที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ได้เข้าสิงพระธรรมภายแล้วเท่านั้น ได้แก่ วิชาช 3 วิชาช 8 อภิญญา 6 ปฏิสังขิกาญาณ 4 วิโมก 8 และการบรรลุผล นิพพาน แต่ในงานวิจัยนี้ เมื่อพูดถึง “วิชาธรรมภาย” จะหมายถึงวิธีปฏิบัติธรรมตั้งแต่เบื้องต้นที่อาจเรียกว่า “การปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึง