ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์ทุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ปัญหา 1 แห่ง (หน้า 25-26) ส่วนหลักฐานทางโบราณคดีได้แก่ศาลาจารึกพระธรรมภายแห่งยุครุ่งศรีอยุธยา ที่พบที่พระเจดีย์วัดเสือ (หน้า 27-30) และจารึกลานทองพระธรรมภาย ที่เก็บรักษาที่พระเจดีย์สรรเพชญดาญา วัดพระเชตุพนฯ (หน้า 34-38)
จากข้อความเกี่ยวกับธรรมภายที่พบในพระไตรปิฎกและอรรถกถา “ธรรมทายาท” ได้ตั้งข้อสังเกตว่า “ธรรมภาย” ไม่ใช่คำใหม่สำหรับชาวพุทธยุควาเฉลย อีกทั้งข้อความที่แสดงไว้ในอรรถกถาก็บ่งชี้ถึงลักษณะของธรรมภายว่าเป็นสิ่งที่ “เห็นได้” ด้วยอัญชัญ บัญญัติการปฏิบัติสมาธิภาวนาอย่างถูกวิธี และยังมีข้อความบ่งบอกว่าธรรมภายเป็นอัตตาอีกด้วย
นอกจากนี้ยังมีข้อความเกี่ยวกับธรรมภายจากหนังสือ “พุทธจรีญญาณ” ที่พระมหาโชติปัญญา ได้รวบรวมวิปัสสนาจากคณาจารย์ยุคโบราณรวมไว้ในเล่มเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2479 ในส่วนของ “แบบขึ้นพระกัมม์ฐาน ห้องพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ” ซึ่งได้ต้นฉบับมาจากวัดประตูโรงธรรม กรุงเทพฯอยุธยา (กรุงเก่า) ... มีบันทึกว่าเป็นแบบที่สืบเนื่องมาจากท่านที่สายปามากขาจารย์ 56 องค์ แต่ครั้งโบราณฯ ได้ประชุมกันจารึกไว้เมื่อประมาณพุทธศักราช 572 (หน้า 32)
ในเรื่องนี้ “ธรรมทายาท” ตั้งข้อสังเกตว่า เป็นหลักฐานชิ้นเดียวที่พบว่ามีการกล่าวถึงธรรมภายในวิธีทำสมาธิที่เก่าแก่กว่า นอกจากนี้เขายังตั้งข้อสังเกตต่อว่า การปฏิบัติวิธีนี้ใช้บริการธรรมภาวนาที่ตรงกันกับ “บทสวดอิติปิโสภิติมาลา” ซึ่งสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เป็นผู้นำมาเผยแพร่ “ทำให้หลักฐานชิ้นนี้น่าหนำมากขึ้นว่าเป็นของแท้” (หน้า 32)