ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ ๑ ฉบับวิชาการ
พระอาจารย์มเีอายุในช่วงปี พ.ศ. 2413-2492 ใกล้เคียงกันกับช่วงอายุของ
พระมงคลเทพมุนี ท่านเกิดก่อนพระมงคลเทพมุนี 14 ปี และได้บวชตั้งแต่เยาว
วัย แต่เมื่อประเมินจากชีวประวัติและช่วงอายุในการปฏิบัติสมาธิภาวนาของ
ท่านแล้ว คาดว่าทั้งสองท่านน่าจะไม่เคยพบกัน หรืออย่างน้อยช่วงเวลาที่พระ
อาจารย์มเีอมีความเชี่ยวชาญในพระกรรมฐานนั้น น่าจะไม่ทันที่จะมีส่วนในกา
สอนพระมงคลเทพมุนีในเบื้องต้นแต่โดยใด
อย่างไรก็ตาม คำสอนที่เป็นหลักสำคัญในสายของพระดุองค์ธรรมฐาน
อย่างหนึ่งคือหลักการที่ว่า จิตมีธรรมชาตที่บริสุทธิ์ผ่องใสมาแต่เดิม แต่มาเศร้า
หมองในายหลังด้วยกิเลสที่ครามา โดยกล่าวอ้างอิงพุทธวจวว่า “จิตติ ปสุสสรี
อาคุณฑกิ สกิ กิเลส จิตเป็นของผ่องใสอยู่ทุกเมื่อ กิเลสเป็นอันคันดูจะอะจ
มาต่างหาาก” ดังนั้นจึงมีปรากฏในคำสอนของศิษยานุศิษย์ของพระอาจารย์มเีอ
หลายๆ รูป เช่น พระราชนิธรรังสีคัมภีร์ปัญญาวิศิษฐ์ (เทสก์ เทสรังสี) และ
พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีเรื่องราวในประวัติชีวิตของพระอาจารย์มเีอันบันทึก
โดยพระธรรมวิทิงมงคล (หลวงตามหาบัว อาณสมุปปนโณ) ว่า ท่านเคยสอน
ชาวเขาให้มาวน “พุโธ” โดยบอกว่า เป็นวิธีการตามห “ดวงแก้วพุทโธ่ที่
หายไป” ทั้งนี้ท่านได้บรรยายดวงแก้วพุทโธไว้ว่า “พุทโธเป็นดวงแก้วสว่างใส
มีหลายสีจนับไม่ถ้วน เป็นสมบัติอันวิิเศษของพระพุทธเจ้า พุทโธเป็นองค์แห่ง
ความรู้สว่างไสไม่เป็นวัตถุ” และลักษณะของดวงแก้วพุทโธนั้น “สว่างยิ่งกว่า
24 ตรงกับพระบาลีว่า “ปลสุสมิ ภิกขวา จิตติ ตถ๗๖ ตถตี โษ อาคุณฏกิเลสอ์ อุปกิเลสอ็ อุปกิชฺชิ”
(อจ.บอ. 20/50/11)
80 | ดร.ชนิดา จันทารศรีโสภ ค