ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่เข้าถึงและตรงกัน และยังมองตรงกันกับสิ่งที่กล่าวไว้ในคัมภีร์พุทธฯ จาก คันธาระ เอเชียกลาง และประเทศจีน ที่อยู่ห่างไกล ซึ่งเป็นดินแดนพระมงคล เทพบูชาไม่เคยไป และเป็นคัมภีร์ที่ไม่เคยอ่าน จึงเป็นเครื่องยืนยันถึงความเป็น ประสบการณ์สากลที่ทุกคนเข้าถึงได้เหมือนฯ และจึงเป็นเครื่องรับรอง ความจริงแท้ของสิ่งที่พระมงคลเทพบูชานี้สอนในวิชาชาธรรมกาย 5.3.3.4. มโนมยกาย (กายอันเกิดแต่ใจ): ความสำคัญของการเข้าถึง “กายภายใน” สัทพว่า “มโนมยกาย” พบในพระไตรปิฎกบาลีใน 2 ความหมาย ในความหมายแรกใช้เป็นคำเรียกทรงชั้นบรรจบ ส่วนในอีกความหมายหนึ่งเป็นคำกล่าวถึงกายที่แสดงออกหรือเข้าถึงได้ด้วยจิตที่เป็นสมาธิในระดับอดุตตลาน ในภาวะที่จิตตั้งมั่นในระดับของจุตุตกามาน (บานที่ 4) พระไตรปิฎกบาลีมีคำแนะนำในการฝึกฝนจิตด้วยนโมยภธิ คือ การ “เนรมิตกายอันเกิดแต่ใจ” (มโนมยกาย) โดยเปรียบเทียบกับการชักใส่ผ้าข้างนอกออกจากผ้าล่อง การชักดาบออกจากฝึก และการงูที่ออกคราบ โดยอธิบายว่า หญ้าบ้างใส่ผ้าสู้ใจปล้องก็เป็นคนล่ะส่วนกัน แต่ใส่ผ้าข้างกูก็ถูกซักออกมาจากหญ้าบ้างที่ซ้อนกันอยู่ ดาบกับฝึกก็เป็นคนล่ะชิ้นกัน แต่ดาบก็ถูกซักออกมาจากฝึกที่ซ้อนกันอยู่ และตัวก็ดิออกมาจากคราบซึ่งเป็นคนล่ะชิ้นกันแต่ซ้อนกันอยูเหมือน 4 สำหรับเรื่องของมโนยากายในพระไตรปิฎกบาลี ที่ศึกษาละเอียดในรายละเอียด ศึกษาเพิ่มเติม ได้จาก Jantrasrisalai 2008 : 182-8, 205-211 บทที่ 5 สรุปและอธิบายผล | 517