ข้อความต้นฉบับในหน้า
4.2.1.2. พุทธวจุติในคัมภีร์ตรารักษาขา56
พุทธวจุติ เป็นสมาธิภาวนาประกอบแรกที่ระบุในคัมภีร์ตรารักษาขา
เช่นเดียวกับพระไตรปิฎกษ์ที่จัดพุทธวจุติไว้เป็นอันดับแรกของอนุสติ
ทั้งหลาย (D.III.250; A.III.284) ซึ่งน่าจะบ่งบอกถึงความสำคัญของการเจริญ
พุทธวจุติสำหรับท่านผู้อ่านคัมภีร์นี้
ข้อความเกี่ยวกับพุทธวจุติมีความยาว 10 คาถา คือ ตั้งแต่คำว่าที่ 2 ถึง
คาถาที่ 11 เนื้อหาของคาถาที่ 257 เป็นคำแนะนำให้พระภิกษุเจริญพุทธวจุติ
โดยกระลึกร Linking พระพุทธคุณอันกว้างใหญ่ไม่มีที่สิ้นสุด ส่วนคาถาที่ 3-11 เป็นเนื้อหา
พรรณนาพระพุทธคุณ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการขยายความนัยของพระพุทธคุณ
จากแบบมาตรฐานที่แสดงไว้ในพระไตรปิฎกษ์ ตั้งแต่ อรห สมานสมุทโพจนถึง พุทธโภ ภควา โดยประพันธ์เป็นคาถาที่มีเนื้อความกระชับ ชัดเจน และสละสลวย อาจเปรียบเทียบบทพรรณนาพระพุทธคุณในคัมภีร์ตรารักษาขากับบทบาทที่กล่าวถึงพระพุทธคุณได้ดังนี้58
________________
56 นำมาจากงานวิจัย “ร่องรอยธรรมในคัมภีร์ตรารักษาขา” (สุราภรณ์ พนิชชยพงศ์ 2557) โดยมีการปรับปรุงคำแปลในบางส่วน
57 อนุฏฐิติการุณ คุณโตนสุรัส มุขี ภาวุยุ พุทธิมา ภิกขุ พุทธวจุติมาโกโต ฯ (2) พระกิฏิผู้มีญาณเป็นอรรถะลักษณ์ถึงพระอจมุณก็พระคุณแม่เผยขายไปไม่มีสิ้นสุดโดยคุณ พิธีวิจารณ์พุทธวจุติเป็นอ้อมตั้ง แบบมาตรฐานที่แสดงพระคุณของนี้นึกไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งความรู้ตรารักษ์สามารถนำมายขยายความ ได้แก่ข้อความว่า อติภิโล ภควา อรห สมานสมุทโพ วิชชาจรณสมบูรณ์ โลกวิทู อนุตตโร ปริสาหมสาริ ศุภา เทวนุสุขานี้ พุทธโภ ภควา ฯ (D.I.49; D.II.93; D.III.5; M.I.37; S.II.69; S.IV.271; S.V.197; A.III.285)
ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก “ร่องรอยธรรมในคัมภีร์ตรารักษาขา” (สุราภรณ์ พนิชชยพงศ์ 2557)