ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์ทูตโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
พระกิริยาพิละ โดยทรงแนะนำให้สาอุปกิลาเสที่เป็นอุปสรคในกรรมทำสมาธิและ
ทรงสรุปว่า สมาธิ ทำให้เกิด “จักษุ” ซึ่งจะทำให้เห็น “รูป และแสงสว่าง” ได้
หากมีความเพียร ละอุปกิลาเสที่เป็นอุปสรคของสมาธิได้มาก ก็จะมีสมาธินมัคดี ทำให้จักษุบูมมาก ส่งผลให้เห็นรูปและแสงสว่างได้มาก เมื่อใส่ใจที่จะเห็น
หลักฐานที่พระพุทธปริญญามาแสดงไว้นี้ เป็นหลักฐานจากพระ
สุตราบดี ซึ่งมีความสอดคล้องตรงกับหลักการที่พระมงคลเทพมุนีสอนไว้
เกี่ยวกับอัญาณทัศนะ จึงเป็นเครื่องยืนยันรับรองอย่างชัดเจนว่า หลักการที่พระ
มงคลเทพมุนีสอนนั้นเป็นคำสอนที่ถูกต้องร่องรอยตามคำสอนของพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าที่มีบันทึกไว้ในพระไตรปิฎกบารี
2.4.2. เกษมสุข ภมสรสถิตย์ “ธรรมกายในนานาทัศนะโลก”
ในปี พ.ศ. 2543 เกษมสุข ภมสรสถิตย์ ได้รวบรวมข้อความที่ กล่าว
ถึงธรรมกายจากข้อเขียนของนักวิชาการและของชาวพุทธนิกายนต่างๆ รวม
36 ฉบับที่ตีพิมพ์ในระยะเวลาสาร 80 ปี คือระหว่างปี พ.ศ. 2452 ถึง พ.ศ.
2532 ได้ข้อสรุปว่า ธรรมกายเป็นที่รู้จักมานานแล้วในพระพุทธศาสนา
หลายท่านนึกตั้งแต่กายหลักจนถึงมหายานและวชรยาน บ้างก็กล่าวว่า
พระพุทธองค์ประกอบด้วยพระรปภายและพระธรรมกาย และบ้างก็กล่าวถึง
กายทั้งสามของพระพุทธองค์27
27 ทั้งพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานต่างก็กล่าวถึง “กายสาม” ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่
ต่างกันในขณะที่พระศาสนามหายานกล่าวถึงตรีภายอันได้แก่ นิรมานกาย สันโภคกาย และ
ธรรมกาย พระพุทธศาสนาเถรวาทกล่าวถึง รูปภาย นามภาย และธรรมภาย