ข้อความต้นฉบับในหน้า
คัมภีร์ที่รวบรวมไว้ในหนังสือเล่มนี้บ่งคำว่า ธรรมกายอยู่ 13 แห่ง
นอกจากจะกล่าวถึงพระรูปกายและพระธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
แล้ว ยังมีประเด็นอื่นๆ อีกดังนี้¹
- ธรรมกายคืออตตตา และสัญญตา (p. 301; จากวิลัชรอัษฏิกา ปรัชญาปรมิติ)
- การสร้างบารมีของพระโพธิสัตว์ในภูมิที่ 8 เมื่อเข้าสู่พระธรรมกาย ภายในแล้วจะเป็นผู้ไม่หวั่นไหว (p. 489; จากวิบูลเกียรติเทคสูตร)
- ธรรมกายไม่มีมิติและลักษณะ (p. 490, 491, 493; จากวิบูลเกียรตินิเทศสูตร)
- ประเด็นปล่อยหย่อนเหล่านี้กล่าวถึงธรรมกายจากมุมมองของพุทธปรัชญามายานซึ่งไม่มีคำว่าไว้ในวิชธรรมกายโดยตรง แต่หากศึกษาหลักการของคำกีร และเปรียบเทียบกับหลักการของวิชาธรรมกายแล้ว มักพบว่าทอดคล้องกับวิชาธรรมกายอย่างมีเงื่อนไขในการตีความ เช่นที่พระสูตรกล่าวถึงธรรมกายว่าเป็นสัญญตา ก็เนื่องทอดคล้องกับหลักการของวิชาธรรมกาย ถ้าหากสัญญตานั้นหมายถึงความว่างจากกิเลส ไม่ใช่ความว่างจากสารที่แท้จริง เป็นต้น
หลักการที่ว่าพระพุทธองค์ประกอบด้วยพระรูปกายและพระธรรมกาย
นั่นพบได้ทั่วไปในคัมภีร์พุทธทั้งของนิยายหลักและมหายาน เช่นในคัมภีร์สายปรัชญาปรามิตที่กล่าวมาแล้ว
¹ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากรายงานการวิจัยของ ชัยสิทธิ์ สุวรรณรวงกูล (2557)