ข้อความต้นฉบับในหน้า
นั่น (4.3.2.4) ผู้คอเสนาสพระญาณเพื่อช่วยเหลือสัตวโลกให้รอดพ้นจากภัยพิษติและจากกับดักแห่งวิญญาณอยู่เป็นนิจ และในการที่จะสร้างบุญบารมีให้พ้นจากทุกข์ในวิบูลสารได้เป็นนั้น ต้องมาเกิดในชมพุธปี (4.3.3.2) และสังสมแต่บุญ ละบาปอเวกศให้หมดไป (4.3.3.1)
หลักการในเรื่องของการเวียนว่ายตายเกิด การสร้างบุญบารมี และการกลับไปสู่สภาวะเดิมอันสะอาดบริสุทธิ์รวมทั้งการได้พบกับพระพุทธเจ้าเป็นต้น นั้นเป็นความสงบคล้องกันโดยหลักการระหว่างโยควาจรกับวิชาธรรมกาย ยิ่งกว่านั้น การใช้คำว่านที่บ่งบอกถึงพุทธานุสสรณ์ เช่น อะระหังสัมมาะะะหัง พุทโธ หรือสัมมาสัมพุทธโธ รวมทั้งวิธีการเจริญภาวนาเบื้องต้นและการกำหนดบรรจรงมินต์เป็นพระพุทธรูป หรือรูปสี่เหลี่ยมแสงสว่าง (4.2.3.7.ก-ข) ตลอดจนการกล่าวถึงดวงสว่าง ความสว่าง หรือแม้กระทั่งดวงสีทองซึ่งลักษณะสว่างไสว้อนเป็นประสบการณ์จากการเจริญภาวนา (4.3.1.4-4.3.1.6) ก็ยังเป็นความสงบคล้องในแง่มุมของการปฏิบัติด้วยเช่นเดียวกัน
อย่างไรก็ดี เมื่อศึกษาลงในรายละเอียดแล้ว กลับพบว่า หลักการใน การบรรลุอริยมรรคและอริยมผลของวิชชาธรรมกายและโโยวจรนั้นแตกต่าง กัน (4.2.3.7.จ) ทั้งในเรื่องลำดับของอริยมรรคและอริยมผลที่เข้าถึง หลักการ ในการเข้าถึง และฐานที่ตั้งแห่งการเข้าถึงอริยมรรคและอริยมผล กล่าวคือ ใน ขณะที่วิชชาธรรมกายแนะนำให้หยุดใจที่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็น ธรรมกาย (ภายหลังจากการเข้าสู่ธรรมกายโดยตรงแล้ว) และให้หยุดใจในหยุด เข้าไปในกลางของกลางเรื่องไปอันเป็นทางแห่งการบรรลุผล คำรบของ โยควรกลับสอนให้ “ดำเนินจิตโดยอนุโลมปฏิโลม” โดยกำหนดตำแหน่ง