ข้อความต้นฉบับในหน้า
ฐษฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
คําฝีฺอักษรธรรมมั่นบํารงการปฏิบัติเช่นนี้เข้าในอานาปานสติ ซึ่งกล่าวถึงฐานที่ตั้งของจิตหลายแห่ง ได้แก่ สะดือ หัวใจ อก คอ โคนลิ้น ปลายจมูก และกระหม่อม โดยที่สะดือถูกระบ ว่าเป็นจุดที่สำคัญ เพราะเป็นทีอยู่ของไฟรักษาชีวิตซึ่งถูกอธิบายไว้ด้วยลมและรองรับไว้ด้วยน้ำอีกชั้นหนึ่งและสุดท้ายคืออากาศ การแตกของน้ำที่รองรับอยู่ที่เรียกว่า “น้ำพระธรรม” หรือ “น้ำดวงจิต” นี้เป็นเหตุให้ถึงแก่ความตาย (พุทธ. 9.2) หากน้ำพระธรรมหรือน้ำดวงจิตยังดีอยู่จะบังคับให้บุคคลมิการกระทำ มีคำพูด และมีความคิดต่างๆ และที่สำคัญสะดือเป็นจุดที่โลกลูกรธรรมเริ่มปรากฏ ผู้กำลังจะลิ ขีวิตจะหมดการรับรู้จาก สัมผัสภายนอก ซึ่งเป็นลักษณะใกล้เคียงกับผู้เข้าสู่โรในขณะจิตจะดับนั้นคัมภีร์อักษรธรรมเน้นว่าเป็นช่วงเวลาสำคัญ หากบุคคลผู้นั้นไม่รู้จักที่จะกล่าวอธิบายความรู้สึกต้องมีรถเข็นที่ไปแต่หากรู้จักท่าที่พึ่งคือบุญหรือแสงสว่างภายในหรือศีลภายในหรือไฟภายใน ทั้งสิ่งก็จะ “สาย (ผล) พระธรรม” เช่นเดียวกับพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอริยสัตว์ทั้งหลายและพันจากอายใน อย่างไรก็ตามบุคคลจะหาที่พึ่งเมื่อกำลังจะสิ้นชีวิตได้สำเร็จต่อเมื่อได้ฝึก “บังสุกลตัวเอง” ในขณะมีชีวิตสบายอยู่เนื่องๆ การบังคุกลตัวเองคือการทำบังสุกลเข้าภายในแต่ว่า ผู้ปฏิบัตียมชีวิอยู่ พระสงขีรินมณีไปบังสุกูลผุ้ตายย่อมไม่สำเร็จผลกวาไม่สามารถบังสุกตนเองได้เสียก่อน แสงสว่างภายในที่กล่าวถึงข้างต้นสามารถป้องกันอบายเพราะฆาบาปธรรมได้บาปธรรมที่โยคาวจรกล่าวคือ สัพพุทธสุขาสารเจตสิลและปิฏกกา กุสลาสารณะเจตสิรวม 14 ประการ ได้แก่ โมทะ โทสะ เป็นต้น ซึ่งส่วนเป็น