ข้อความต้นฉบับในหน้า
ไม่ยินดี ข่มและฝึกจิตของตนให้เชื่อ ให้ควรแก่ภารงาน... หลังจากนั้น เมื่อเห็นสวน สระ สนาม ป่าเขาที่รื่นรมย์ เป็นต้น ก็ให้ฝึกทำใจอย่างนั้น... หลังจากนั้นข้างบน ข้างล่าง ด้านขวาในทุกด้าน ก็ฝึกทำใจอย่างนั้นให้ได้ตลอด แล้วพระสูตรจึงสรุปวา นี้คือความเป็นหนึ่งไม่หวั่นไหวแห่งจิตของบุคคลผู้รับรู้ตามความเป็นจริงที่เรียกว่า "สมาธิประกอบด้วยสัญญาในความเมตตาในโลกทั้งปวง" เนื้อหาของพระสูตรนี้ไม่ตรงกันกับพระสูตรใดในพระไตรปิฏกโดยตรง หากแต่ส่วนของคำสอนพบกระจายอยู่หลายแห่งในพระไตรปิฎกบายและคัมภีร์วิสุทธิมรรค เป็นไปได้ว่า การเจริญอสุภกรรมฐานจะเป็นที่นิยมในท้องนี้ ณ ช่วงเวลานั้น คัมภีร์จีรังกล่าวส่วลอสรจาวาเป็นอันดับแรก และในคัมภีร์คณธิอีกชิ้นหนึ่งที่พบจากแหล่งเดียวกัน ก็ยกตัวอย่างสมาธินิยมเป็นชาดกพงศ์ ที่ได้แสดงไว้ข้างต้น (ดู 3.1.2 ย่อหน้าสุดท้าย) และในถ้ำที่เชื่อว่าเป็นที่สำหรับเจริญสมาธิธวกวา ก็มีภาพวาดผนังถ้ำเป็นรูปโครงกระดูกซึ่งเชื่อว่ามีไว้สำหรับเป็นบริกรรมมินติ