ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
(ค.ศ. 100) โดยพระโยคาจารแห่งนิทายสรวาสติวาท เป็นคู่มือการปฏิบัติธรรม เล่มเล็กๆ รู้จักกันทั่วไปในชื่อ อานาปานสมถัติสูตร (Anāpanasmṛti Sūtra)
เนื้อหาของคัมภีร์ส่วนที่ว่าด้วยธรรมปฏิบัติ แบ่งการฝึกสมาธิด้วย ลมหายใจเป็น 6 ขั้นตอน
1. นับลม(คุณนา 数, 数息)
2. ตามลม(อนุคามะ 随, 相隨)
3. ลมหยุด(สาธปานา 止)
4. ดูเฉยๆ(อุบลักษณะ 観)
5. จิตตกศูนย์(วิวรรตะ 还)
6. จิตบริสุทธิ์(ปริโศหรี 浄)
ประเด็นสำคัญของคัมภีร์นี้คือ มีการระบุถึงการวางใจไว้ที่กลางกาย
ความสามารถในการรักษาไว้ที่กลางกาย เรียกว่า กายานบูปสานสติปัญญา คือ การตามเห็นภายในกาย นั่นคือ มิติตอยู่ภายในกลางกาย
เมื่อเทียบเคียงกับการสอนสมาธิของพระมงคลเทพมุนี พบว่าเป็นหลักการที่ตรงกัน ที่ท่านสอนให้ประคองรักษาสติไว้ ณ ตำแหน่งที่สุดของลมหายใจเข้าออก รวมใจหยุดนิ่งไว้ที่ตำแหน่งศูนย์กลางกายฐานที่ 7 (พระมงคลเทพมุนี)
87
可身中意者。谛议在身観。是為身中意 (T602 15: 169c22–3)
258 | ดร.ชินดา จินดาวศรีโสฬ