ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ถ้าเราต้องอยู่ได้ในความไม่ประมาทคอยนี้ถึงความเสื่อมไป มืออารมณ์อยู่ไม่ใช่มืออารมณ์ ว่าตั้งใจว่าเรานึกถึงความเสื่อมนี้ตั้งแต่ตั้งแต่ไป เมื่อรู้เมื่อเข้าใจแล้วจะนึกถึงความเสื่อมในสгалร่างกายนี้ไม่ขาดอยู่ จะเอาใจจดอยู่ที่ความเสื่อมในเวลานี้แหละเราจึงนึกถึงความเสื่อของตน นักถึงความเสื่อบุคคลผู้อื่น เมื่อ ลืมตาขึ้นเห็นกิฎษะสามเณร อุบาสกอุบาสิกา แน่ ความเสื่อมั่น แสดงให้ดู นั่นเปรียบไปถึงแค่ไหนในนั้น แล้วนเปรียบไปถึงแค่นั้น ประเดี๋ยวก็ตายให้ดู แนะ ทำให้ดูแล้ว ได้ยินเสียงพระสวดดีดี เห็น โล่งดีดี แน่เป็นอย่างนี้แหละหมดทั้งสากลโลก เราก็เป็นอย่างนี้ เพราะเหตุอัน เมื่อบุคคลไม่เลอในความเสื่อมเช่นนี้ ไม่พลังไม่ผลอะไรก็แล้วแต่ นั่นแหละผันนั้นแหละ ได้ชื่อว่า ได้ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท พระจอมปราชญ์สรเสริญกัน (รธ. 225, ดูเพิ่มเติมใน 3.1.6 “สัญญา 4 ประการ”)
คำแนะนำในการเจริญสมาธิภาวนาในคัมภีร์ว่า จะเป็นแนวที่ตรงกันกับพระบาลีและตรงกันกับหลักการของวิชชาธรรมกายด้วยเช่นกัน
4.2.3. สมาธิภาวนาในคัมภีร์โยคาวจร63
“โยคาวจร” เป็นศัพท์ที่นึกวิชาการตะวันตกบังคับชี้น เพื่อความสะดวกในการเรียกพุทธศาสตร์ที่ได้รับการนับถือปฏิบัติหลายในแถบ