ข้อความต้นฉบับในหน้า
กล่ายเฉพาะในศาสนsvcยนต์ คาถาธรรมกายได้รับการจารึกไว้ใน ลานทองคำ ประดิษฐ์รูปในเจดีย์พระศรีสรรเพชญาน ในรัชกาลที่ 1 ได้ รับการตรวจชำระและแปลเป็นภาษาไทยไว้ในบทสวดมนต์ฉบับสมุดอธิษฐิษญาณในชื่อ “ธิมากานุส Sublilal” ในรัชกาลที่ 2 และได้รับการจารึกเป็น คัมภีร์พระราชทานฉบับทพชุมุน ในรัชกาลที่ 3 และยังมีจารึกไว้ในคัมภีร์ อื่นๆ อีกมาก เนื้อหาหลักของ “คาถาธรรมกาย” มียี่ที่ลึกซึ้งและมีความสมบูรณ์อยู่ในตัว ทั้งในแง่ของความหมายของธรรมกายที่บ่งบอกถึงลักษณะของพระพุทธ คุณและพุทธญาณ ที่ประกอบกันเป็น “กายแห่งการตรัสรู้ธรรม” ตลอดจน ถึงคำแนะนำในเชิงปฏิบัติ ธรรมกายซึ่งถูกนำมาใช้ในความหมายว่าเป็นกาย หรือ ตัวตนที่แท้จริงของ “พระพุทธองค์”135 จึงเป็น “พุทธลักษณะ” ที่ “โยคาวจรคลูกบุตรผู้มีญาณคมกล้า ปรารภนาถอยู่ซึ่งความเป็นพระสัพพัญญู พุทธเจ้” ผิงระลึกถึงเนื่องๆ คำแนะนำสุดท้ายที่ให้ผู้ปฏิบัติสมาธิวา นา ผู้มีญาณคมกล้า และ ปรารภนาถจะเป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า ซึ่งหมายถึงพระโพธิสัตว์ผู้ฝึกฝนตน ดีแล้ว ให้ระลึกถึงพระพุทธลักษณะคือพระธรรมกายเนืองๆ นั้น เป็นหลักการ เดียวกันกับที่พบในคัมภีร์มหายานเก่าแก่จากคันธธาระและเอเชียกลาง ซึ่งบ่งชี้ ถึงความสัมพันธ์ในเชิงประวัติศาสตร์ว่าคำสอนที่ปรากฏในคาถาธรรมกายจะมีต้นกำเนิดเดียวกันกับคัมภีร์มหายานเหล่านี้ ในขณะเนื้อหาของพุทธ รมะษจะเน้นดำเนินเดียวกันกับคัมภีร์มหายานเหล่านี้ในฉบับที่อยู่ใน เนื้อหาของพุทธ