ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ให้ช่วยนำมาซึ่งความสงบสุข ความสวัสดี และความไม่มีโรค เป็นต้น นิยมใช้เป็นบทสวดเพื่อป้องกันหรือปิดป่าชัยร้าย หรือนคราร้ายต่างๆ และเพื่อำนำซึ่งความสำเร็จและชัยชนะ
อุปปศจันติประกอบด้วยคาถากายาบาลี 272 บาท และเนื้อความในภาคภาษาไทยยวนที่ใช้อ้างคำสันติธรรมทอง ฉบับที่นำมาศึกษาในงานวิจัยนี้ จารึกด้วยอักษรธรรมลาว ซึ่งบ่งบอกถึงความนิยมแพร่หลายไปถึงดินแดนในฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ในคาถาที่ 256 มีข้อความกล่าวถึงพระธรรมกายไว้ดังนี้
นานาคุณวิจิตตสูส รูปายาส สตฺถิโน สพฺพทวมนุสถาน ภาพนุวิธาราโน
เมตตาพเลน มหตา สทา มงคลมตฺต ฐเตฯ
สพฺพญุตตาษกายสํ ธมฺมกายสํ สตฺถโน
อญฺชาทุโคตรสํ โคตรวสสา สุรียา
เตโชพลน มหตา สพฺพมงคลมฤคดู โน (อุปปาถันติ โคลงบทที่ 255-6)
คำแปล: ด้วยเมตตานาภอันยิ่งใหญ่ของพระศาสดาผู้มีรูปาปันงาม วจีติด้วยคุณานุภ ประกรฯ ผู้ทรงปลดเปลื้องเวไนยชนจากบ่วงมาร ของมงคล จงมีแก่อําพจเจ้าทั้งหลายตลอดไป ด้วยเดชานุภาพอันยิ่งใหญ่นี้แห่งธรรมกายพระสัพพัญญูญาณเป็นต้นของพระศาสดา อันมิใช่อารมณ์ของจิตบูชาเป็นต้นแต่เป็นอารมณ์ของปัญญาเท่านั้น ขออัสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย
48 ฉบับวัดบพพาภาราม วัดท่ามะโอเขียน มรรคานุวิภจิน
49 แปลภาษามไทยโดย บำเพ็ญ ระวิน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2540.