ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประเด็น โยคาวจร วิชาธรรมกาย พระไตรปิฎกวล ใฺดบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติดีมรรติโดดาบัติ ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล ผล สภาพคามิผล
ในภาพองค์ความรู้ในเรื่องนี้ เน้นหลักการเปรียบเทียบความแตกต่างในการบรรลุมรรคผลเป็นเครื่องบ่งชี้ ว่าเป็นการรับรองว่าสิ่งที่ค้นพบเป็นหลักการดั้งเดิมของชาวพุทธ แต่โบราณ การประมวลผลสรุปเปรียบเทียบหลักฐานที่พบจากการค้นระ เอกสารกลาง และประเทศจีน ที่จะนำเสนอต่อไปในบทที่ 5 จะให้ภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้นสำหรับประเด็นนี้ ในการศึกษาหลักฐานจำนวน 7 คัมภีร์ที่ปรากฏคำว่า ธรรมกาย 8 แห่ง จากเอเชียอาคเนย์ พบว่าความหมายของธรรมกายในหลักฐานทุกนี้ใช้ในสุภาษิตหลัก 4 ข้อ