ข้อความต้นฉบับในหน้า
และคณะศิษย์ 2525: 215) อันเป็นฐานที่ตั้งของใจ ตำแหน่งนี้พระมงคล เทพมุนี เรียกว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการดำเนินจิตเข้าไปสู่เส้นทางสายกลางหรือ มัชฌิมาปฏิปทา นอกจากนี้เทคนิควิธีในการปฏิบัติทีู่่ดูเอง และผลการปฏิบัติที่ตาม ม coach สร้าง of อเขาเรื่อง เขาถึงความบริสุทธิ์ ก็สอดคล้องกับเทคนิควิธีการที่สอน และประสบการณ์ที่แสดงไว้ในวิชาธรรมกายเช่นกัน (ดู 2.2.1) 3.3.1.2. อรรถาธิบายแห่งอนาปานสมถะ88 พระคัมภีร์อินีอีอุรงจิ๋ง(陰持入經) เป็นคัมภีร์อรรถาธิบายการปฏิบัติ อนาปานสมถีในคัมภีร์อินีอีอุรงจิ๋ง (陰持入經) แห่งสำนักพระอัญเชิญอาวเรียบเรียงราวกลางพุทธศตวรรษที่ 8 โดยอุบาสถานิหยู่ มิวิสสำคัญว่า “ใน ขณะที่หายใจออกมาจากภายใน ที่ซึ่งประกอบด้วยมหาจตุรูปสิ ใจต้องวาง อยู่ภายในนั่น” หลักฐานช Jinแสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติสมาธิของชาวพุทธจีในยุค นั้น แม้จะใช้เทคนิคการทำสมาธิแบบกําหนดลมหายใจ (อานาปานาสต) แต่ผู้ ปฏิบัติยังได้รับคำแนะนำให้วางใจไว้ที่กลางมหาจตุรูปสิ แต่คัมภีร์ได้ระบุไว้ ให้ชัดเจนว่ากลางมหาจตุรูปสี่นี้อยู่ที่ใด พระเกียรติศักดิ์จึงได้ศึกษาจากแหล่ง ข้อมูลอื่นๆ เพิ่มเติม มีรายละเอียดดังนี้
88 งานวิจัย “สมาธิกับศูนย์กลางกายภายในพระพุทธศาสนาอุคงอันและยูโววฉัน” (พระเกียรติศักดิ์ กิติปัญโญ 2557) 89 คัมภีร์อินีอีอุรงจิ๋ง เป็นคนละคัมภีร์กันกับ อันปัลโว่จิ๋ง(安般守意經) แต่เป็นคัมภีร์ว่าด้วยอานาปานสมถี เหมือนกัน และเป็นของสำนักพระอัญเชิญอาวาเหมือนกัน บทที่ 3 คันธาระ เอกเขียงกลาง และประเทศจีน | 259